ผญาอีสาน รวบรวม โดย บ่าวริมโขง ******************* "พี่น้องเอย เพิ่นว่าเมืองอีสานนี่ดินดำน้ำซุ่ม ปลากุ่มบ้อนคือแข้แกว่งหาง ปลานางบ้อนคือขางฟ้าลั่น จั๊กจั่นฮ้องคือฆ้องลั่นยาม คนมีศีล ดินมีน้ำ บ่ห่อนขาดเขินบก ฝูงหมู่สกุณานก บินซวนซมปลายไม้ ไทเมืองไกล เมืองใกล้ ไปมาได้จอดแว้ น้ำใจหลายดีแท้น้อ หมู่เฮาซาวอีสาน ซั่นแล้ว" คันเจ้าได้ขี่ซ่าง อย่าลืมหมู่หมูหมา ห่าขโมยมาลัก สิเห่าหอนให้มันย่าน ลางเทือกวงฟานเต้น นำดงสิได้ไล่ ลางเทือได้ต่อนสิ้น ยังสิได้อ่าวคุณ...อยู่เด้ พี่น้องเอ้ย เพิ่นว่าชมรมฯอีสานจุฬาฯเฮานี่ มีดีอยู่หลายอย่าง อยากให้ซ่อยฮักษาไว้ อย่าไลถิ่มเปล่าดาย คั่นสิพากันสร้าง แปงทางให้มันเกี้ยง อันว่าเรื่องปากเสียง ให้อดสาเก็บไว้ ไม้ลำเดียวอ้อมฮั่วบ่อยู่ ไหมหลายไจดึงซ้างจังสิคือ แท้นอ ขอให้ฮักกันไว้...
"พี่น้องเอย เพิ่นว่าเมืองอีสานนี่ดินดำน้ำซุ่ม
ปลากุ่มบ้อนคือแข้แกว่งหาง
ปลานางบ้อนคือขางฟ้าลั่น
จั๊กจั่นฮ้องคือฆ้องลั่นยาม
คนมีศีล ดินมีน้ำ บ่ห่อนขาดเขินบก
ฝูงหมู่สกุณานก บินซวนซมปลายไม้
ไทเมืองไกล เมืองใกล้ ไปมาได้จอดแว้
น้ำใจหลายดีแท้น้อ หมู่เฮาซาวอีสาน ซั่นแล้ว"
คันเจ้าได้ขี่ซ่าง อย่าลืมหมู่หมูหมา
ห่าขโมยมาลัก สิเห่าหอนให้มันย่าน
ลางเทือกวงฟานเต้น นำดงสิได้ไล่
ลางเทือได้ต่อนสิ้น ยังสิได้อ่าวคุณ...อยู่เด้
พี่น้องเอ้ย เพิ่นว่าชมรมฯอีสานจุฬาฯเฮานี่ มีดีอยู่หลายอย่าง
อยากให้ซ่อยฮักษาไว้ อย่าไลถิ่มเปล่าดาย
คั่นสิพากันสร้าง แปงทางให้มันเกี้ยง
อันว่าเรื่องปากเสียง ให้อดสาเก็บไว้
ไม้ลำเดียวอ้อมฮั่วบ่อยู่ ไหมหลายไจดึงซ้างจังสิคือ แท้นอ
ขอให้ฮักกันไว้ คือข้าวเหนียวนึ่งใหม่
อย่าสิไรซังกัน คือเข้าเหนียวถูกน้ำ
ไผว่าชมรมฯอีสานจุฬาฯสิฮ้าง ให้จูงแขนพามาเบิ่ง
คนยังแตกจ้นจ้น มันสิฮ้างแมนบ่อนได๋ นั่นแหลว
เซื้อซาติแฮ้งอย่าเหม็นสาบกุยกัน
เกิดเป็นคนอีสานให้ฮักแพงกันไว้
ไผเฮ็ดดีให้ซอยยู้ ซอยซูอย่าหย่านลืน
ไผเฮ็ดผิดให้ซอยเว้า ไขแก้ดอกซอยกัน
kanผมบ่มีหวีป้องสิเป็นฮังนกจอก
มีปากคันบ่มีแข้วพร้อมคางสิว้ำใส่ดัง
แนววังคันบ่มีขอนขวงซาวแหเขาสิหว่าน
มีเฮือนคันบ่มีพ่อเย้าโจรสิเข้าลักของ
มีกลองคันบ่มีหนังหุ้มสิเป็นฮางผักบั่ว
มีหัวคันว่าผมบ่พร้อมเขาสิเอิ้นเดิ่นเหา
มีเกวียนคันบ่มีงัวพร้อมสิเอาหยังมาแก่
เกวียนคันบ่มีไม้ค้ำหัวสิง้ำใส่ดิน
"อย่าสุไลลืมทิ้มพงศ์พันธุ์พี่น้องเก่า
อย่าสุละเซื้อเหง้าหาญ้องผู้อื่นดี
เพิ่นว่าไทไกลนี้เจงเลงน้ำแจ่วข่า
บ่ท่อใสจิ่งหลิ่งไทใกล้น้ำแจ่วขิ่ง
เพิ่นว่าสิ่งของนี้บ่ขัดสีปัดเป่า
อีกบ่โดนกะสิเศร้าเสียค่าของแพง
ให้ค่อยแหย่งเอาไว้ของไทเฮาซาวอีสาน
ฮีตเก่าของโบราณอย่าพาลข้ามทิ้มเสีย ซั่นแล้ว"
เลี้ยงซ้างเฒ่าขายงาได้กินค่า
เลี้ยงซ้างน้อยตายถิ่มค่าบ่มี
คั่นซิมักผู้บ่าวน้อยซิอดมื้อกินหยัง
มักให้มักผู้บ่าวเฒ่าคือสิได้กินมี
Untitled-4ใจประสงค์สร้างกลางดงกะหว่าถ่ง ใจขี้คร้านกลางบ้านกะหว่าดง
นอนคนกล้ำฝันเห็นสะดุงตื่น พอแต่ลุกล้างหน้าคึดฮอดเจ้าอยู่บ่ลืมแท้หน่อ
อยากซิถามข่าวเจ้าisanchula
ผู้ว่ามีปัญญาเต็มพุงเพียงปาก
ตอนนี้นั้นสำบายดีหรือบ่
ขอไห้ไขปากเว้านำตัวข้าแด่ถ่อน
พี่น้องชาวอีสานเอย...
กลับมาอีกเถื่อนี้มีเรื่องเก่ามาขอถาม
เข้ามายามไทเฮาชาวอีสานย้านไลร้าง
สินธุ์โปงลางคนเค้าจับสำเนากลอนมาเอ่ย
เผยสำนวนออกเว้าถามข่าวเจ้าเลือดข้าวเหนียว
เผิ่นหว่าถามข่าวบ้านถามข่าวเถิงเสา
ถามข่าวข้าวถามข่าวเถิงนา
ถามข่าวปลาถามหาเถิงข้อง
คันถามข่าวพี่น้อง แหม่นเจ้าอยู่สุขสำบายดีบ่อนอ
หรือแหม่นมีความทุกข์สิ่งได๋บ่อนอป้า
เฮ็ดไห่หมานปลาเฮ็ดนาเจ้าหมานฝ้าย หรือแหม่นสุขสำบายหายฮ้อนนอนอั่ง บ่อเด
หรือมีทุกข์อีหยังเงินคำหลั่งอั่งเต้าโฮมเจ้าคู่สู่คนบ่อนอโยม...
เถื่อนี้ฝากผญาไว้ซ่ำนี้ก่อนกะแล้วกันเด้อ เข้ามาอีกเถื่อหน้าจั่งสิเอามาฝากอีก
ขอให้ชาวอีสานสู่คนมีความสุขหลาย ๆ อย่าได้เจ็บเกินคน อย่าได้จนกว่าไผกะแล้วกันเนาะ
เจริญพร......
34ออนซอนดิน.....ออนซอนหญ้า
ออนซอนน้ำ.....ออนซอนปลา
ออนซอนฟ้อน.....ออนซอนแอ่น
ออนซอนพิณ.....ออนซอนแคน
กลอนผญาค่าส้ำ.....ลำเรื่องต่อกลอน
ห่างซ้อน นอนไห้ห่วงหา เถิง. แม่จันทนาเนื้อ หน้ามน คนคิดฮอด
สารนี้ชื่อว่า อักษรใช้ ลายเซ็นนำส่ง เพื่อประสงค์ข่าวข้อ
ขอซ้อนฮ่วมพระมัย ก็จึ่งแปลงสารใช้ เขียนผญาแต้มแต่ง
มาแสดงต่อน้อง ยามแค้นคลั่งกระหาย โอน้อ…เจ้าผู้จันทนาเนื้อ
แก้มอ่อนๆ ละมัยผิว เฮียมเอ้ย ขอให้แยงผญาเถิง
บ่าวพี่ชายปางนี้ เจ้าผู้จันทจรแจ้ง พี่จงใจสมสวาท
นับแต่พ้อพบน้อง บ่มีมื้อสิหล่ายลืม ได้แหล่ว อันแต่ในมโนอ้าย
ทลายลงล้มล่าว แสนสาวมานั่งล้อม บ่ปานน้องผู้อยู่ไกล
เทื่อนี้ พี่จึงลิขิตข้อ ขอขอดพระทัยฮัก ขอให้กูณาผาย
โผดเฮียมยามแค้น คันสิขังมโนไว้ อกสิเพพังมุ่น เอาแหล่ว
พี่จึงปูนแต่งแต้ม กลอนแก้ข่าวสาร ขอให้นางคราญน้อง
ยอฉลองเทียมเนตร หลิงหล่ำสารสอดฮู้ ประสงค์แจ้งฮอดชาย แด่ท่อน
พี่พ่องกลัด พ่องกลุ้ม หลงฮูปละเมอเถิง ว่าสิปองเอาอวน
ยอดนางมานอนซ้อน ขอให้ดวงสมรแก้ว กลมเกลียว ฮักห่อ พี่ถ่อน
ผายโผดอ้าย ผู้โทนโท่อยู่เดียว พี่นี่ หวังกอดเกี้ยว ผกายกอด กรกวม
ผิว่าสมความหมาย สิชื่นชมสมเยื้อน พี่สิเพียรสมสร้าง
สะพานทองเที่ยวไต่ สองฝ่ายก้ำ ให้เป็นแป้นแผ่นเดียว
เจ้าผู้ศรีเสลียวสร้อย ยอยผมดำให้นำเลี่ยม เฮียมแม้
พี่กะตั้งต่อน้อง หมายหมั่นชั่วชีวัง พี่นี้ ขันอาสาตั้ง
ถวายดอมเด็ดเดี่ยว มักเพื่อสมสู่สร้าง สินสร้อยซ่อยปอง
28พี่นี่ฮักฮูปน้อง นมนานสุดซั่ว จริงแหล้ว
หาสังปูนเปรียบด้าม เสมอเผี้ยงบ่มี พี่แหล่ว
ผัดแต่ลงโลกหล้า เอากำเนิดในมนุษย์ มานี้
พี่บ่ทันเคยฮัก ผู้ได๋ปานน้อง ผัดแต่ครองตนสร้าง
พสุธาเมืองลุ่ม บ่เคยฝักไฝ่ฝั่น กระสันดิ้นต่อไผ
เทื่อนี้ พบภาพน้อง ละเมอป่วงหลงใหล ขอแก่สายใจอวน
ฮ่ำคะนิงหวนฮู้ เจ้าผู้ตู๋หลูต้น ทองไทยพิฑูรเทศ เฮียมเอย
อดเจ้าผายผ่อเยี่ยม กระแสสิ่งสอดสาร พี่ท่อน
พี่นี่ ฮักนาถน้อง หลงฮูปละเมอหา ผิว์บ่สมเจตนา
สิมิ่งมรณาเมี้ยน อดให้สงสารถ่อน สายสมรเทียมเตร เฮียมเอ้ย
สงสารชายกำพร้า มาเว้าเหนี่ยววอน พี่นี่ จรจวบน้อง
มาพานพบจอมขวัญ คือจั่ง กาดำพบ จวบนางลุนน้อย
อันว่า สมเสลาสร้อย นางลุนผัดฮักห่อ กาดำ นั่น
ยังได้เกาะกอดเกี้ยว ผสมฝั่นฮ่วมกัน คึดเบิ่ง เงาะฮูปฮ้าย
ใบ้บ้ากะทาชาย ยังได้ชมแซมสอง รจนานางน้อย
ขอให้ สมเสลาสร้อย พิจารณ์ใจแจ้งแจบ ดูถ่อน อย่าให้ ฮักพี่นั้น
ฮามฮ้างเคิ่งทาง โอน้อ.. ขอให้กก กอดเกี้ยว
ก้านก่าย กร-กวัด ยามเมื่อ สองเฮาพลัด พรากแฮมฮามซ้อน
พี่ขอวอนเถิงไท้ พระอินทราปองซ่อย แน่แหม๋
ขอให้ ชักจ่องน่าว สองเฮาให้ฮ่วมกัน พี่นี้หากตั้งต่อน้อง
ตรงเที่ยงเป็นสัตย์ ขอให้ สายแนนซัก ฮ่วมสองเสนห์ซ้อน
พี่จัก วอนเอาน้อง นางแพงเทียมภางค์ ปฏิบัติแนบข้าง
เตียงมุ้งม่านเดียว เจ้าผู้ศรีเสลียวสร้อย เสมอพรพรหมแต่ง พี่เอย
อ้ายมักใคร่ขอขอดหมั้น นำน้องชั่วชีวัง พี่นี่ หวังสมสร้าง
เสน่หาปองปลูก ทุกข์คอบว่ามาบ่ได้ กลัวน้องบ่ปากนำ
พี่นี้ ฮักยิ่งล้ำ เสมอหินถมแผ่น คันบ่สมเพชอ้าย
อิดูหน้าหุ่นพลอย ย้านแต่ เหลือแฮงห้าม หัวใจสิมามุ่นทะลาย แหล่ว
ขอให้ ใจน้องหล่า นางน้องซ่อยปอง แน่ถ่อน โอน้อ..ให้ซ่อยปักซ่อยป้อง
ดับโศกละลายทุกข์ พี่นี่ อย่าได้ เมินตาเฉย บ่คะนิงหวนฮู้
พี่ เทียมดังนาวาน้อย ลอยนทีกลางแก่ง
มีแต่ ฟองฟาดเบื้อง สิจมหมิ่งแค่วัง
ขอให้ นงนางน้อย หลิงดูยามยาก ต้านตอบถ้อย
ผอวนอ้ายผู้อยู่คอย แด่ถ้อน พี่ กะหวังทราบข้อ
ไขต่อกระแสสาร ขอให้ ภิญโญญาณ สอดแสวงเถิงอ้าย
พี่หมาย31 มาเป็นข้า ทาสาแสนชาติ ให้นาง ไขวาทเบื้อง ผญาฮู้ส่องญาณ แม่เด้อ
แยงไป ก้ำฝ่ายบ้าน ภูมิถิ่นดินสถิต อดให้ ยอแยงคิด
ใคร่กระแสสารอ้าย อย่าให้ เสียสูญฮ้าง ฮามชมสารสวาท
พี่สิ คอยอ่านเอื้อม แยงสิ่งหล่ำสาร เจ้าผู้ จันทร์เพ็ญแจ้ง
ปุณณมีเพ็งภาคย์ แม่นสิ ลำบากบ้าง อย่าลืมโต้ตอบสาร พี่เดอ
(ชาย) .... สุขซำบายหมั้นเสมอมันเครือเก่าบ่นอ เทิงพ่อแม่พี่น้องซำบายถ้วนอยู่สู่คนบ่เด
(หญิง) .... น้องนี้ สุขซำบายหมั้น เสมอมันเครือเก่าอยู่ดอกอ้าย เทิงพ่อแม่พี่น้องซำบาย พร้อมสู่คน
(ชาย) .... อ้ายนี่อยากถามข่าวน้ำ ถามข่าวเถิงปลา ถามข่าวนา อยากถามข่าวเถิงเข้า อ้ายอยากถามข่าวน้องว่ามีผัวแล้วหรือบ่ หรือว่ามีแต่ซู้ ผัวสิซ้อนหากบ่มี
(หญิง) .... โอนอ อ้ายเอย น้องนี้ปอดอ้อยซ้อยเสมอดั่งตองตัด พัดแต่เป็นหญิงมาบ่มี ซายสิมาเกี้ยว ผัดแต่สอนลอนขึ้นบ่มีเครือสิเกี้ยวพุ่ม พผัดแต่เป็นตุ่มไม้เครือสิเกี้ยวกะบ่มี
(ชาย) .... น้องอย่ามาติแถลงเว้า เอาเลามาปลูก บ่แหม่นเซื้อซาติอ้อยกินได้กะบ่หวาน
(หญิง) .... คันบ่จริงน้องบ่เว้า คันบ่เอาน้องบ่หว่า คันบ่แม่นท่า น้องบ่ไล่ควายลง ตีลงแล้ว ถอยคืนมันสิยาก มันสิลำบากน้องเทียวหยุ่งอยู่บ่เซา
(ชาย) .... อ้ายนี่เป็นดังอาซาไนม้า เดินทางหิวหอด มาพ้อน้ำส้างแล้วในถ้ำกะส่องดาย กลายไปแล้ว ผัดคืนมาก้มส่อง อยากกินกะกินบ่ได้ เลียลิ้นอยู่เปล่าดาย
(หญิง) .... น้องนี้เป็นดังเฮือคาแก้ง เสาประดงคุงหาด หาผู้คึดซ่อยแก้ ให้หายฮ้อนกะบ่มี
16193_6797_090729104552_R7คนเฮานี้ ต้องเผิ่งอาศัยกัน
คือดังปลาอาศัยน้ำ น้ำกะเผิ่งวังปลา
ปลาอาศัยวังเวิน จึ่งล่องลอยนาน้ำ
ทามอาศัยห้วย งัวควยอาศัยแอก
ตาแฮกอาศัยไก่ต้ม จึงโดนตุ้มจากคอน
คือดังคอนอาศัยไม้ นกใส่อาศัยโกน
คนกะอาศัยคน เผิ่งกันโดยด้าม
คามอาศัยหม้อ หมอมออาศัยส่อง
ฆ้องอาศัยไม้ฆ้อน ตีต้องจึงค่อยดัง
สามัคคีกันไว้ คือข้าวเหนียวนึ่งใหม่
อย่าได้เพแตกม้าง คือน้ำถืกข้าวเหนียว
สามัคคีกันไว้ คือฝนแสนห่า
ตกลงมาจากฟ้า ไหลโฮมโห่งอยู่หนอง
น้องเอ้ย..อ้ายนี่เปรียบคือจอกอยู่น้ำ ฮากหยั่งบ่ถึงดิน ไหลเวินไป เวินมา กะบ่มีเฟือยค้าง ว่าสิไหลมาค้างตักพนางสิได้บ่ ดำข้อล่อจั่งบักอ้ายตาซ้ายให้ล่ำมองแน่เป็นหยัง....นางเอ้ย
น้องเอ้ย...ให้เจ้าอดสาหย้ำกินขิงตางข่า ก่อนถ้อน อดสาเว้านำบ่าวผู้ฮ้าย ซามพ้อบ่าวผู้ดีแน้เป็นหยัง...นางเอ้ย
น้องเอ้ย.. อ้ายสิถามข่าวข้าว ข้าวผัดอยู่ในนา อ้ายสิถามข่าวปลา ปลาผัดอยู่ในน้ำ อ้ายเลยถามข่าวน้องว่ามีผัวแล้วหรือไป่ หรือว่ามีแต่ซู้ ผัวสิซ้อนแม่นบ่มี..น้อ..นางเอ้ย
ถามข่าวน้ำ สิถามข่าวหาปลา
ถามข่าวนา สิถามข่าวหาข้าว
ถามข่าวเจ้าสเลเตว่าเจ้าเป็นผู้ใด๋หนอ
คันแม้นพอสิบอกได้ ให้เว้าแจ้งแถลงจา
ผู้ผญาเลิศล้น คนทั้งค่ายเขาออนซอน
แม้นอยู่เขตอุดร นครก้ำหรือกะสินธ์
หรือแม้นถิ่นสารคาม สิถามเจ้าบอกได้บ่อ"
http---wallpaper-hit.blogspot.com 16สิบเดือนหลำซาวเดือนหลำ
บ่เห็นเจ้ามาด๋อกมาใส่เบ็จ
บาดว่าเค้าเข้าขึ้นเลาบัตเห็นเจ้า ดอกเทือเดี่ยว ว่าสันดอกว่า.....
สิบปีกะสิถ้าซาวพรรษากะสิอยู่ คันบ่ได้เป็นคู่เห็นแต่อุแอ่งน้ำกะปานได้นั่งเทียม
ว่าสันว่า....
น้องชายสิลาจากอ้ายน้องกลับต่าวเคหัง ปาสิลาวังเวินเสิ่นไปคือฮุ้ง ทุงสิไลลาผ้า
สาหนองสิลาบวก ฮวกสิลาแม่น้ำ นางน้องค่อยอยู่ดี แด่เนอ
ไกลมื้อนี้ มื้ออื่นสิมาหา
คันแม้นชีวายัง สิด่วนมาหาเจ้า
คือดังปลาอาศัยน้ำ น้ำกะเผิ่งวังปลา
ปลาอาศัยวังเวิน จึ่งล่องลอยนาน้ำ
ทามอาศัยห้วย งัวควยอาศัยแอก
ตาแฮกอาศัยไก่ต้ม จึงโดนตุ้มจากคอน
คือดังคอนอาศัยไม้ นกใส่อาศัยโกน
คนกะอาศัยคน เผิ่งกันโดยด้าม
คามอาศัยหม้อ หมอมออาศัยส่อง
ฆ้องอาศัยไม้ฆ้อน ตีต้องจึงค่อยดัง
อันว่าโตผมนี้ เนาว์อยู่ยั้งแดนดินถิ่นไกล
ถิ่นภูไทเขาฮ้อง หนแห่งห้องเมืองนครฯ
พอได้จรจากบ้าน แดนดินถิ่นอีสาน
ไปฮ่ำเฮียนเขียนอ่าน วิชาการหลายปีได้
อยู่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ยังคึดฮอดบ้านหลัง
เลยได้ฮ่วมพลังมวลมิตรของเฮาซาวลูกซ้าง
ก่อเป็นวงโปงลางมอซอ พอได้ฮ่วมสืบต่อสานศิลป์ถิ่นอีสาน
สืบตำนานเอาไว้อย่าไลทิ้มเปล่าดาย
แม้นคนหลายหรือน้อย ให้คอยตั้งประณิธาน
เพิ่นว่าเมืองอีสานนี้ มีของดีหลายอย่าง
เสียงโปงลางยังดังก้อง พิณแคนกลองกะยังม่วน
โหวดกะขอเซิญซวน ให้หมู่มวลพี่น้องมาซ้อยกันฮักษา
จบขบวนสมควรลา ผญาไว้พอซำนี้
โอกาสหน้าถ้าพอมี บ่าวภูไทคนนี้ สิโงโค้งต่าวมา ซั่นแล้ว
http---wallpaper-hit.blogspot.com 5สุขสำบายหมั่นเสมอมันเครือเก่า
เทิงหมู่พี่น้อง สุขีหมั่นเสมอด้ามดั่งกัน
ผู้เพิ่นมาจาเว้าผญานอ จั่งแม่นม่วน
อยากเชิญชวนพี่น้อง มาเว้าฮ่วมกัน
อันข้าน้อยนี่ บ่มีภูมิดอกนำเพิ่น
เว้าได้น้อย ๆ ควมเว้าบ่เป็น
จั่งได้ลองเว้าเล่น ๆ จั่งเห็นนอตอนนี่
ดีบ่ดีจั่งจั่งได๋เล่า ให้เจ้าแยงเบิ่งเด้อ
มื่อนี่เอาส่ำนี่ก่อน จบคำป้อนบ่อนผญา
คำผญานี่ดีหลายแท้ เว้าม่วนคำจา
ให้ซ่อยกันฮักษาไว้ อย่าไลถิ่มเด้อเปล่าดายดอกเด้อพี่น้องเอย
เซื้อซาติแฮ้งอย่าเหม็นสาบกุยกัน
เกิดเป็นคนอีสานให้ฮักแพงกันไว้
ไผเฮ็ดดีให้ซ่อยยู้ ซอยซูอย่าย่านเหลิน
ไผเฮ็ดผิดให้ซอยเว้า ไขแก้ดอกซอยกัน
สุขขีมั่น ยังสุขสันต์อยู่คือเก่า
เทิงพ่อแก่แม่เฒ่า กะยังอยู่ดีซำบาย
ฮีตปู่ย่าตายาย คองของไทหมู่เฮา หมู่เจ้าเห็นอยู่บ่
หมู่เฮาเคยได้พ้อ เพิ่นหายเสียไปทางใด๋
หรือว่างลงไปใต้ ทางไกลแดนห่าง
ฮีตคองเฮาเลยฮ้าง บ่มีคนล้างขัดสี
มาซ้อยกันเด้อน้องพี่ ฮีต 12 คอง 14 ประเพณีแต่รุ่นเก่า
คองคอยถ้าซุมหมู่เจ้า เข้าฮ่วมสืบสานต่อ ซั่นแล้ว
คำปากพ่อแม่นี้ หนักเกิ่งธรณี
ใผผู้ยำแยงนบ หากสิเฮืองเมื่อหน้า
ในให้เสมอน้ำ คุงคาสมุทรใหญ่
ให้เจ้าคึดถี่ถ้วน ดีแล้วจึงค่อยจา
อย่าได้เฮ็ดใจเพี้ยง เขาฮอขมขื่ม
ความคึดเจ้าอย่าตื้น เสมอหม้อปากแบน
สิบตำลึงอยู่ฟากน้ำ อย่าได้อ่าวคนิงหา
สองสะลึงแล่นมามือ ให้เจ้ากำเอาไว้
มีเงินล้นเต็มถง อย่าฟ้าวอ่งหลายเน้อ
ลางเทื่อ ทุกข์มอดไฮ้ เมื่อหน้าส่องบ่เห็น
เงินหากหมดเสียแล้ว ขวัญยังดอมไถ่
อันว่าผ้าขาดแล้ว แซงนั้นหากยัง
ฮักผัวให้ มีใจผายเผื่อ
ฮักผัวให้ฮักพี่น้อง แนวน้าแม่ผัว
ฟักเฮือไว้ หลายลำแฮท่า
หม่าข้าวไว้ หลายบ้านทั่วเมือง
กินแกงให้เจ้าซอนดูก้าง คาคำซิจิ้มยาก
ดูกมันไปอยู่ค้าง กินน้ำซิบ่ลง
ข้ามเหนือเพื่อตกได้ ไหลลงมาค้อมพอแม่น
คือดั่งอีโต้คมปู้ ให้ฟันเจ้ยแต่ไกล
มีไหมแล้ว อย่าลืมคุณม้อนคว่าง
ม้วนหากแบ่งเส้นหยุ่ง ยองให้ก่อจึงมี
อย่าได้เห็นแก่ได้ หมากแตงโมหน่วยใหญ่
ลางเทือโชคบ่ให้ เลยสิได้อ่าวหวนตัด
เยี่ยวบ่เถิงภายลุน ซิคึกมือเมื่อหน้า
เห็นว่าซอนลอนตั้ง กลางภาชน์อย่าฟ้าวอยากหลายเน้อ
ลางเทือเป็นต่อนง้วน กินแล้วซิบ่ยัง
เป็นขุนนี้ วิชาให้มีมาก
อย่าได้เป็นดั่งหนังแห้ง มาจวบพ้อไฟไหม้ไงดโง
กินให้พิจารไว้ คเณดูสามส่วน ดีดาย
นอนให้คึดสี่ด้าน คนิงถ้วนจึงค่อยนอน
ชาติที่แนวนามบ้ง แปงโตกาซิตอดกินแล้ว
เฮ็ดให้คือดั่งม้วน ใยหุ้มห่อโต นั้นท้อน
เห็นว่าได้หน่อยแก้ว อย่าปะเอิบใจหลาย
ลางเทือ ฮงๆ ใส หน่วยขวงบ่มีฮู้
กุญชโรช้าง แนวสูงสัตวใหญ่
ตายย้อนนกใส่น้อย ผะหยาแพ้ผาบคืน
ของบ่เป็นตาจ้ำ อย่าสุจุ่มลงเลิก
ของบ่เป็นตากิน อย่ากินสิพวนท้อง
044151เฮือนใดยามกินข้าว หลายพามับแมบ
เฮือนนั้นเศิกบ่มั่ว ใจน้ำบ่คล่องปลา
เฮือนใดยามกินข้าว พาเดี่ยวเป็นหมู่
คำฮักยังช่างตู้ม กันไว้หมื่นอะสง
อันว่าผัวเมียฺฮ้าย ยามเดียวก็เป็นเพิ่น เสียแล้ว
บาดว่าพี่น้องฮ้าย คือขี้บ่เหม็น
เฮือคาแก้ง เกวียนเห็นให้เกวียนแก่
บาดว่าไปฮอดน้ำ เฮือซิได้แก่เกวียน
เฮือนคันบ่มีพ่อย้าว โจรสิเข้าล่วงเฮือน
จันทร์ใสแจ้ง ดวงเดียวบ่มีคล่อง
บ่มีดาวแวดล้อม จันทร์เจ้าก็บ่อเฮือง
หนองบ่อมีขอนขั่น ชาวแหเขาสิหว่าน ลงแล้ว
มีวังบ่มีเงือกเฝ้า คนใบ้ก็บ่ยำ
ไกลมื้อนี้ มื้ออื่นสิมาหา
คันแม้นซีวายัง สิด่วนมาหาเจ้า
ไกลกันยามมื้อเซ้า ไกลกันท่อข้อมือ
ไกลกันยามมื้อฮือ ไกลกันท่อนิ้วก้อย
ไกลมื้อเล็กมื้อน้อยกะเลยซ้ำล่ำบ่เห็น
บ่อยากพลัดพรากเว้น เวรหากจ่องจำหนี
บ่อยากไกลสายคอ แม่เวรหากพาเว้น
อยากเห็นโตแม่เวรเด้ สิเป็นโตจังใด๋หนอ
คันเป็นโตคือจังหอย คันมีฮอยคือจังซ้าง
อ้ายสิไปว่าจ้าง พรานหลวงเพิ่นไล่ฆ่า
อ้ายสิไปว่าจ้าง พรานนาเพิ่นไล่ยิง
แม้นสิสิงอยู่ต้นไม้ สิเอาไฟอูดเผา
อ้ายอยากถามข่าวน้อง ถามข่าวไฮ่ผืนหนา
ถามข่าวน้อง ถามข่าวนาผืนกว้าง
ยังค่อยสวยรวยข้าว ฮวงยาวเม็ดถี่ บ่น้อ
ยังค่อยสุกเฮื้อเข้ม เหลืองกุ้มทั่วทุ่งนา อยู่บ้อ
ถามข่าวน้อง ถามข่าวฟืมซาวห้า ประสงค์สอดสมกระสวย
ถามข่าวมวยผมดำ ลูบมันมวยดั้ว
ถามข่าวบัวบานบ้าง กลางสระต้นเปลี่ยว
ยังค่อยไขกาบซ้อน หอมกลั้วกลิ่นละออง อยู่บ้อ
อ้ายอยากถามข่าวอ้อย ป้องถี่กินหวาน
ถามข่าวตาลตูมตัด ปาดงวงกินน้ำ
ถามข่าวตองปลีกล้วย เครือคำต้นต่ำ
หรือว่ากล้วยกาบแก้ว ควายเข้ายาดเขา
หรือว่ามีคนปล้ำฮานฮอนกินหมาก
ขอให้น้องตอบถ้อย ผะอวนอ้ายแอ่วถาม
ถามข่าวเจ้า สาวจุฬายังค่อยอยู่ดีบ้อ
คันแม้นมีเวลาพอ อยากให้ตอบถ้อยคำผญาได้บ่
หรือว่าพ่อเจ้าป้อนซี้นแข้ คางกระแจ ปากบ่ลั่น
หรือว่าแม่เจ้าป้อนซี้นซ้าง คางกระด้าง ปากบ่เป็น บ่น้อ
land8นกเขาตู้พรากกคู่กะยังขัน
กาเหว่าวอนพรากฮังกะยังฮ้อง
บัดว่าน้องพรากอ้ายคำเดียวบ่เอิ้นสั่ง
คันบ่เอิ้นสั่งใกล้กะให้เอิ้นสั่งไกลแน่เด้อ
หล้าน้องสาวเอ้ยไกลขอให้ไกลแต่บ้านฮั่วไฮ่นาสวน
ไกลขอให้ไกลแต่มวลหมู่เฮือนกับเล้า
ส่วนว่าวาจาเว้าสองเฮาอย่าได้ห่าง
ต่างคนแม้นสิอยู่ต่างบ้านความเว้าอย่าห่างกัน
แม้นว่าไกลมื้อนี้มื้ออื่นสิมาหา
คันแม้นชีวายังสิด่วนมาหาเจ้า
ไกลกันยามมื้อเซ้าไกลกันท่อข้อมือ
ไกลมื้อฮือไกลกันท่อนิ้วก้อย
ไกลมื้อเล็กมื้อน้อยกะเลยซ้ำล่ำบ่เห็น น้องสาวเอ้ย
ลูกเอย...ฟังพ่อเฮาแน่
อันนี้แหลว.....ท่านทั้งหลายเอ้ย
เว้าพื้นความขี้ฮ้าย ไผสิว่าให้โตเสีย
มันหากเหลือใจแฮง สังแบ่งปันไปคนก้ำ
จักไผดำไผแหล่ แลเห็นบ่เกินว่า
ประชาชนเบื่อหน้า สังมาเว้าให้เก่าใจ
.....
พี่น้องเอ้ย...
ตกมายุคต้นไม้ ใบบ่ป่งยามฝน
ตกยามคนจัญไร ได้ก่อกวนเมืองบ้าน
ตกหว่างธารบ่มีน้ำ คนผิดธรรมบ้านเมืองแป่
ธรรมชาติปรวนแปร คันบ่แลบ่ฮู้ บ่ดูแล้วฮ่ำบ่เห็น
คิดเบิ่งเด้อ..
ใต้เคยเย็นกลายเป็นฮ้อน นอนนั่งบ่เป็นสุข
พอปานไฟลามลุก ทุกข์ทนไปเทิงแคว้น
ตกหว่างแดนเหนือใต้ น้ำไหลมาปานฟ้าฮั่ว
ตกหว่างบัวไปอยู่ใต้ ขี้ตมพื้นแม่นที
ตกหว่างคนยุคนี้ อยากมีลื่นบรรดาศักดิ์
ตกหว่างคนบ่จงรัก ได้ภักดีแต่คำเว้า
ตกหว่างเอาหว่างได้ สิขายไฟ ให้ไหม้พ่อ
ตกหว่างคนสอพลอ ได้แต่ยอแลบลิ้น ถวิลได้อิ่มบ่เป็น
ตกหว่างคนสิได้เค้น แค้นคั่งนำเงินตรา
ตกหว่างปลาสิกินแมว เบิ่งอีแหลวลงบ้าน
ตกหว่างกาลตะเว็นคล้อย ถอยลงบ่อยากโผล่
ตกหว่างคนบ่อาจโส มีปากโสจาบ่ได้ จัญไรพ้อพบกัน
ตกหว่างดินสิห่างบ้าน สถานที่เคยอาศัย
ตกหว่างไฟบ่มีสี บ่ฮุ่งมีแสงได้
พี่น้องไกลความพ่อเว้า "พอสาเฮา อย่าเอาลื่น"
ได้แต่ฝันบ่มีตื่น พ่อพาบืนบากสู้ เฮาผั่นปู้ส่องบ่เห็น
พ่อบ่ให้ตื่นเต้น เห็นคนอื่นเขาเป็นหยัง
ย้านลูกพังคือเขา ได้ห่วงเงาสิไกลเนื้อ
พ่อเคยเฝือเคยตุ้ม ได้คุมงานจนล้าอ่อน
แสนหนักเหนื่อยสายอุทร ลูกมาถอนโอวาทเว้า บิดาเศร้าหม่นพระทัย
เศรษฐกิจบอกไว้ ให้เดินไต่แบบ "พอเพียง"
อย่าไปเอียงอย่าไปเซ เด่มือซาวเอิ้น
ลูกผั่นเพลินคำย้อง หลงเงินทองเขาป้องใส่
อยากได้หลายผั่นเป็นหนี้ ชีวีกลุ้มคิดบ่ทัน
พี่น้องเอ้ย....
เว้าผญาเป็นบั้น สำคัญอยู่ในดวงจิต
เฮาคงเห็นไผเป็นมิตร ให้คิดนำดูบ้าง
พ่อเฮาถาง พ่อเฮาหม่น สอนเป็นคนให้เห็นค่า
วันที่ห้าธันวา มาฟังคำพ่อสิเว้า สอนเจ้าให้ส่วงตา....
เด้อลูกเด้อ.... ฯ
T090611_02CC_rลูกได้พลัดพรากบ้านมาทำงานเมืองไกล บ่ลืมไลแม่นสิไกลเมืองบ้าน
มาทำงานรับจ้างเอาแฮงกายแลกเงินเพิ่น หวังสิได้บาทเบี้ยพอได้ส่งเมือ
ให้อีพ่อแม่ไซ้ได้อยู่เย็นเป็นสุข แม่นสิสุดแสนทุกข์สิอดทนบ่ย่นย่อ
ลูกอีสานบ่เคยท้อแม่นงานสิหนักหมื่น สิทนฝืนต่อสู้จนม้วยคืนสู่ดิน พ่อแม่เอ๋ย
ฟังวาจาบ่อนบั้นอาจารย์หว่าภาษากลอน
มาฮำฮอนแล้วเป็นทุกข์อุกกะใจนำความเว้า
คึดเห็นมาพาใจเศร้าแนวคนเฮาเป็นลายต่าง
เดินกันคนละทางย่างหนีธรรมพุทธเจ้าลืมความเว้าที่กล่าวมา
คบกันเพียงพ้อหน้าจักสิหว่าแนวได๋
ความในใจของเขาบ่ออาจเดาเองได้
อย่าใส่ใจนำความเว้ามโนเฮาสิพล้อยด่าง
ความเว้าคนมีหลายอย่าง มีเว้าดีเว้าฮ้ายอย่าไปเตื้องต่อคำ
คือโบราณเผิ่นหว่า…
อย่าไปฟังความเว้าของคนมันเกินง่าย
มีเทิงหงายและคว่ำคำเว้าบ่อยู่ความ
เขาฮักเขากะย้องเขาซังเขากะด่า
แนววาจาปิ้นได้สมัยนี้ผัดแห่งหลาย
เป็นนำยุคที่เผิ่นหว่า…
ยุคต้นไม้ใบบ่อป่งยามฝน
กะย้อนคนเทียวตัดจนหว่าเป็นเขาหัวโล้น
บาดยามฝนเทลงให้จักป่าใสใบสิป่ง
เว้ากันแบบตรงตรงป่าบ่อเหลือเสือบ่อซ้นกะคนแท้เป็นผู้ทำ
กลายเป็นยุคขาดน้ำทามขาดป่านาขาดฝน
คนขาดธรรมนำปกจั่งก่อกวนเมืองบ้าน
ยุคคนพาลเป็นเจ้ายุคเสาเมืองถูกดูหมิ่น
ตกหว่างยุคคนลืมศีลดีแต่ปากหากเว้าได้แต่ใจเพี้ยนเปลี่ยนไป
ตกหว่างยุคภาคใต้ไฟโหมลุกลามเผา
ย้อนคนเขาเอนเอียงเบี่ยงคำสอนไปคนด้าน
สถานการณ์กะเลยแย่แปลจากดีไปเป็นชั่ว
คนหวาดกลัวทั่วแค้วนชาวแดนใต้จั่งผวา
ตกหว่างยุคน้ำจากฟ้าล้นอั่งเข้าถั่งโถม
หลังคาจมธาราย้อนป่าดงพงษ์พรรณไม้
ถูกทำลายไปเสียสิ้นเหลือแต่ดินสิ้นพรรณป่า
บาดฝนเทลงมาป่าบ่อมีอุ้มน้ำ ทามบ่อมีป่าไม้คนจั่งให้ซั่วแซว
มันหากเกิดขึ้นแล้วแนวยุคคนใจมัว
มีแต่หัวเบิ๊ดความคึดย้อนยึดติดตัณหากุ้ม
เปรียบดั่งซุมบัวในน้ำเกิดอยู่ในใต้ตมเน่า
เป็นอาหารปลาเต่าคือจั่งคนถูกตุ้มตัณหาหุ้มบ่อดี
ตกหว่างคนยุคนี้อยากมีหลื่นบรรดาศักดิ์
ย้อนบ่อจักความพอจั่งสอพลอหาทางได้
บ่อหว่าไผเด้อท่านกะคือกันอยากได้หลื่น
ฝืนความโลภบ่อได้ใจเลยเลี้ยวไปเกี่ยวโกง
เว้าโจ้งโจ้งแต่ใจคดบ่อมีหลัก
บอกหว่าเฮาจงรักภักดีบ่อมีเบี้ยว
ใจดวงเดียวถวายให้พ่อของไทยไผบ่อท่อ
คดหรืองอพอเว้าได้แต่ใจแท้ส่องบ่อเห็น
ตกหว่างคนสิเต้นเล่นขายไฟให้ไหม้พ่อ
ความบ่อพอย้อนอยากได้แหม่นไฟไหม้กะส่วนยอม
เว้าให้ต้อมหมายความหว่าคนลืมคุณ
คิดนำทุนเป็นหลักบ่อตระหนักดีชั่ว
เลยเมามัวแต่แนวได้เปรียบขายไฟให้ไหม้พ่อ
ถูกบ่อนอข้อนี่ผอวญข้าหว่าแถลง
T300610_02P_rยุคต่อไปยุคใจคนสิแล้งย้อนแค้นคั่งนำเงินตรา
แสวงหาเงินคำมนุษยธรรมลืมเกลี้ยง
คิดแต่เพียงทางได้วิธีได๋กะตามอย่า
ขอแต่ได้เงินมาวิธีหาสิชั่วฮ้ายโสหาได้บ่อใส่ใจ
ยุคต่อไปปลาสิได้ไล่สวบแส่วกินแมวโพง
คนขี้โกงสิครองเมืองเรื่องวุ่นวายสิหลายล้น
ย้อนหมู่คนใจขี้ฮ้ายสิทำลายพวกเผ่า
เปรียบเต่าปลาอยู่น้ำสิไล่ปล้ำสวบแมว
ยุคตาเว็นคล้อยแล้วบ่อมีอ่วยคืนกลับ
อัสดงลงลับบ่อต่าวคืนมาแจ้ง
ยุคแห่งแสงพระธรรมเศร้าเพราะคนเฮาบ่อเตื้องต่อ
ลูกฆ่าแม่ตีพ่อหญิงข่มชายอ้ายน้องไฟสิต้องแผดเผา
ตกยุคคนมักเว้ามาพ้อพบบรรจบกัน
ปานฝนตกขี้หมูไหลคนจัญไรมาพ้อ
พวกสอพลอมักยอย้องเว้าพื้นโตโสความเผิ่น
ศีลข้อสี่ถูกเมินเว้าความจริงบ่อได้บาดยามเจ้ากล่าวขาน
ยุคของดินสิห่างบ้านสถานที่เคยอาศัย
ย้อนต้องไปหาเงินเมืองป่าปูนจนลืมบ้าน
ห่างเฮือนซานที่เคยซ้นห่างไกลคนไกลถิ่น
เปรียบคือดินห่างบ้านเฮือนซานซ้นแหม่นบ่อมี
ตกมาในยุคนี้กองไฟใหญ่บ่อมีสี
ลุกบ่อมีแสงเฮืองมีแต่เพียงความฮ้อน
เปรียบคือตอนโกธาฮ้ายไฟในใจสิครุกรุ่น
ความการุณสิมอดเกลี้ยงมีเพียงแท้ตั้งแต่สูน
ในหัวใจเจ้าสิวุ่นเคืองขุ่นโกธา
อุปมาคือกองไฟไหม้อยู่กลางตาเว็นแจ้ง
บ่อมีสีแสงได้ไหม้หัวใจคนให้หมุ่น
แตกเป็นจุณหมุ่นม้างทลายล้างห่างเพ
อีกอย่างหนึ่ง…เปรียบยุคคนมักเอ้มักแต่งแยงกระจก
แต่ทางในใจพอปานนารกฮกพอปานนาเฮื้อ
มันบ่อเหลือหยังแล้วแนวคนงามแต่ทางนอก
ปอกเข้าไปให้แข่นในแกนแท้ผัดเน่าเหม็น
เปรียบดั่งเช่นไฟบ่อฮุ่งจรุงสี
คงบ่อมีอัตถาประโยชน์หยังให้คนใช้
เป็นแต่เพียงไฟไหม้บ่อมีแสงประกายส่อง
คนยุคนี้เด้อพี่น้องสิเป็นบั้นจั่งกล่าวมา
แท้เด…
"อย่าแตกแยกกันเด้อ สงสารพ่อแน่"
----------------
ตกมาใยยุคนี้ หากมีเรื่องหลายกระแส
บ่อยากแวมาหา ย้านว่าเป็นไปลายม้วน
บทสมควรอันได๋เว้า จั่งสิเอามาเอ่ย
เขยวาจาตอนนี้ สิดีบ้างกว่าอยู่เฉย
....
T180810_03P_rท่านทั้งหลายเอ้ย..
คันสินั่งเบิดเจ้ย เฉยอยู่ในมุมอับ
มัวนัง่หลับตามอง ส่องบ่เห็นการณ์บ้าน
แนวได้ฉันข้าวแล้ว เสียดายแนวข้าวเพิ่นใส่
บ่เว้าหน่อยกะเว้าหลาย วัดด้วยใจ ความถืกต้อง อย่ามองเพี้ยนเป็นอื่นไป
....
ตอนนี้เป็นตาย้านฮ้าย หลายความซ่าภาษายิน
มาคือดินสิเอียงหงวย คนป่วยใจไปลายย้าน
ย้านแต่พาลพาม้วน ควรบ่ควรให้คิดถี่...แน่เด้อ
ฟังให้ดีถ้วนถ้วน สมควรแล้วกะจั่งทำ
เขียนกลอนมาตอกย้ำ ให้สำนึกใน "ความจริง"
อย่าฟ้าวตีงเพราะอารมณ์ สิใส่คมเจ้าของได้
เฮาทั้งหลายเคยเห็นแล้ว แนวเป็นมาเหตุการณ์เก่า
ตั้งแต่คราวกรุงกว้าง ได้ทรวงเศร้าอยู่บ่วาย
...
สามัคคีกันไว้ น้อยใหญ่อย่าไกลตา...พ่อเด้อ
พ่อสอนมาตั้งแต่เหิง ให้เบิ่งนำคำเว้า
ลูกคำเอ้ย.....พ่อของเฮาน้ำตาไห้ สอนปานได๋ลูกบ่เชื่อ
สังขี้ดื้อเอาเหลือ บ่สมเกียสมเลี้ยง ให้เพียงหน้าผู้สุคน
ฮักกันไว้ให้พ่อซ้น อย่าหม่นป่าเถียงกัน
อย่าเป็นพาลนิสัยเสีย ให้เกี่ยกันชูช่วย
พ่อบ่รวย มีเงินให้ สมบัติกายอย่าได้ฮ่ำ
พ่อมีแต่แสงธรรม มีคำสอนให้เจ้า ให้ฟังเว้าอย่าลื่นคอง...
....
ลูกคำเอ้ย...ความบ่ถืกบ่ต้อง ลูกคนป่องสังเกตเอา
บ้านของเฮาไฟสิผลาญ คันด่วนการณ์ใจฮ้อน
คำพ่อสอนให้ใจตั้ง บ้านเมืองพังใจเจ้าม่วน...สั่นบ้อ...
สิ่งได๋บ่สมควร ไผมากวนฮีตบ้าน ให้เฮากั้นผู้สุคน
....
ไผสิกิน ไผสิปล้น คนฮู้อยู่ในใจ
ไผสิหมายครองเมือง กระเดื่องดังเกินบ้าน
ไผเป็นมาร ไผเป็นฟ้า ไผบาปหนา ไผบุญลื่น
ไผผู้กินสินผู้อื่น ไผผู้บืนแบกสร้าง แม่นไผม้างทรัพย์อยู่เฮือน
ไผผู้ใจแปดเปื้อน ไผมันเปลี่ยนอุดมการณ์
ไผสังหารไทยเฮา ไผผู้เอาแต่ความได้
ไผทำลายประเทศสิ้น ไผมันกินสินอั่ง
ไผสิพังแท้แท้ แลแล้วให้ใคร่ครวญ
...
ลูกคำเอ้ย....ไผสิมาซ่อยซ้วน สมควรเบิ่งให้มันดี
ดินกรุงศรีฯของเฮา ต้องซ๋อยเอากะใจช่วย
เฮาอย่ากวยตามคำย้อง เฮาอย่ามองแต่เงินจ่าย
สังเกตุเบิ่งดีดีไว้ ดี-ฮ้าย ให้ส่องเมียง
....
อยากสิเว้าให้เกี้ยง สมได้เสี่ยงลงผญา
เขียนภาษาด้วยใจกลาง ให้ชั่งใจเด้อท่าน
อีกบ่นานธันวาใกล้ ลูกทั้งหลายถ้าฟังพ่อ...เบิ่งเด้อ
ผญาแต่งคอยรอ พ่อสิสอนลูกหล้า ให้มาเตื้องต่อคำ....
เด้อลูกทั้งหลายเด้อ...ฯ
...
ผญานี้ แต่งด้วยใจเป็นกลาง ท่ามกลางสถานการณ์บ้านเมืองที่ต้องใช้ความรอบคอบในการเข้าถึงข้อมุลข่าวสารของทุกส่วนที่เสนอออกมา....
ไม่ว่าใครจะเป็นอย่างไรก็ตามที...
ผู้ตัดสินตามระบอบประชาธิปไตยคือประชาชนพลเมือง
แต่สำคัญยิ่งกว่าสิ่งอื่นใดตอนนี้....
คือปีหน้าพ่อของชาวไทย....ได้ทำหน้าที่ของพระองค์ ปกครองบ้านเมืองให้สงบร่มเย็นมาถึง ๖๐ ปี พอดี
เราผู้อยู่ใต้ร่มพระบารมี
...สมควรได้สามัคคี และสำนึกในคุณความดี ให้พ่อได้เห็นว่า
สิ่งที่พ่อได้บำบากตรากตรำ และเหน็ดเหนื่อยมาชั่วชีวิตของพ่อนั้น
ได้ตอบแทนพ่อ สมกับเป็นลูกของแผ่นดิน สมกับเป็นลูกที่เชื่อฟังคำสอนของพ่อ อย่างแท้จริง....
...ขอให้ลูกทั้งหลายสามัคคี เพื่อมิให้ผุ้ใดมาทำลายแผ่นดินของพ่อ
....และไม่ให้ใครมาทำให้ลูกของพ่อแตกความสามัคคีกัน
สงสารพ่อเราบ้าง....ขอให้พ่อได้มองลูกอย่างสุขใจ
แทนความทุกข์ใจในวาระสำคัญเช่นนี้
T061010_06C_rสุดที่ความผญาข้อย เฮียนมาฮ้อยปี
เห็นเพิ่นจาพาที บ่มีได้เท่าเทียม
คือจังเสียมบ้องตื้น ผะสงค์ทื้นแต่โพนใหญ่
คันแม้นใจบ่เพียร เมี้ยนโพนกะบ่แปน ซั้นแล้วพี่น้องเอ๋ย
ผญาเป็นสติเตือนให้ฮู้ไว้คับ เกี่ยวกับควมเว้าคน
ชื่อว่าแนวความเว้าของคนมันเกินง่าย ได้เทิงหงายและคว่ำความเว้าบ่อยู่ความ
เขาฮักเขาก็ย่อง เขาซังเขาก็ว่า
คือดั่งบักเค้าเม้า หมาเฒ่าเห่าแต่เขา
คันเฮาทำดีแล้ว เขาซังก็ตามซ่าง
คันเฮาเฮ็ดแม่นแล้ว หยันหย่อก็ซ่างเขา
เขาสิพากันท้วง ทั้งเมืองก็บ่เงี่ยง
เขาสิติทั้งค่าย ขายหน้าก็บ่อาย
เจริญสุขวันปีใหม่
กงสุรีย์พวมเคลื่อน นภาเลื่อนลงปิด
แสงอาภาพวมมิด มืดมัวสลัวต้อง
เหลียวไปคองภูเขาเบื้อง นภาเหลืองส้มก่าย
ดำเป็นลายสอดขึ้ ดาวพวมฟื้นเปล่งสกาว
ซุมหมู่กุกกุฏาฟ้าว เข้าคอนนั่งฮังนอน
ขึ้นสู่คอนอาศัย ไก่อีลายปีกตุ้ม
ประคองซุมกุ๊กน้อย เจี๊ยบเจี๊ยบออยซ้นปีกอุ่น
ปีไก่หมุนกายแล้ว เซาขันแจ้วซุกคอน
ปี จอ มา ฮับต้อน เปิดป่อนประตูฉาย
สองพัน กายพุทธศก ให้โชคหมานประทานเจ้า
ห้าร้อย ยาววัสสาเนิ่น เตินมาประกาศป่าว
สี่สิบเก้า จวบพ้อ พอศอนี้พ่อกระพือ
สามร้อยหกสิบห้า มื้อ ขอจำจื่ออย่าลืมเลือน
สิบสองเดือนดั่งเงา เก่าเดิมบ่มีเพี้ยน
ความดีเตือนเสมือนเช่น เคยเป็นมากะคงที่
แม่นฮอดปีบ่ฮ้าง บุญทานกั้งเป็นฮ่มเงา
วัสสากายได๋เข้า ก้าวล่วงให้ทรวงใส
สิ่งได๋ได๋เคยเฮ็ดดี ตื่มทวีแฮ่งดีล้น
สิ่งได๋วนวายฮ้อน ทุกข์อุทรพาหมองหม่น
แนวพาต่ำดำกมล ถิ่มใส่โพนเลาะฮ้าง ความซังสิ้นเสื่อมสูน
แนวได๋เคยว้าวุ่น เคืองขุ่นให้คุณขม
โยนใส่ตมมิดทะเล อย่าเด่หามาคาเจ้า
ยาเคยเมาเหล้าเคยก๊ง ทิ่มใส่โลงตอกฝาสั่ง
แนวเคยชั่วพาตัวพัง ให้สั่งลาแต่มื้อนี้ เอาดีขึ้นใส่ จอ
ความบ่ทันได้พ้อ กำลังม่อมาหา
เหมิดระกาปีไก่ขัน อย่าอ่วยหันแนวกลุ้ม
ขอให้ภูมิใจซ้วน สิ่งสมควรเคยเฮ็ดผ่าน
หันหน้าสู่ใส่งาน หว่านพืชทุนบุญดีเริ่ม ชีวันเพิ่มแต่เสถียร
ฮู้เก็บจัดมัดเมี้ยน เร่งเพียรพร่ำตามคำสอน
ถือเป็นพรอันสำคัญ ผู้ประทานนั้นคือเจ้า
พรของเฮาเจ้าอยากได้ สิมีไผให้สมดั่ง
แนวพาสู่สมความหวัง เพราะพลังโตยู้ ชูขึ้นใส่เจ้าของ
ฮู้จักความถืกต้อง เป็นคนป่องกุศลธรรม
ประกอบกรรมฝ่ายขาว บ่อ่าวพาลซุมมารร้าย
หิริอายต่อบาปชั่ว กลัวตัณหาแนวพาต่ำ
เที่ยงตรงซื่อถือคองธรรม องค์สัมมาพุทธเจ้า ตามคำเว้าเพิ่นสั่งสอน
อันนี้แหลว...จั่งสิหายเดือดฮ้อน เป็นพรมิ่งมงคล
สาธุชนได้สมหวัง ดั่งประสงค์ยามนี้
T280611_10C_rบารมีพระไตรป้อง ผองภัยพาลอย่ามาผ่า
อุปสรรคนานา อย่าได้มาตำต้อง ผู้ปองร้ายให้เปลี่ยนใจ
สุขสงบไปทั่วค้าย ประเทศใหญ่เมืองสยาม
สันติธรรมเป็นบ่อนจบ ให้พบแสงบรมชั้น
สถาบันทั้งสามยู้ ชูราศีดีโดดเด่น
ขอน้องพี่จงอยู่เย็น เช่นสยามนามชื่อยิ้มฮอยพิมพ์ก้องกู่นภา
ปีจอเปิดม่านฟ้า ประชาท่านสำราญยิน
บำเพ็ญศีลไต่คอง ฮีตสิบสองครรลองเค้า
สำคัญเฮาอย่าลืมฮู้ กตัญญูแผ่นดินพ่อ
อยู่กินอย่างเพียงพอ พ้อแต่ความร่มรื่น คืนเว็นได้ฮับมิ่งพร....พุ้นตั้ว...ฯ
รำลึกสึนามิ 1
คลื่นยักษ์ ซึนามิ ถล่มภาคใต้ของไทย ๖ จังหวัด
ยามเมื่อเสิงสางฟ้า เทิงนภานกบินเซิ่น
เสียงจอแจจอกเอิ้น เพลินเล่นส่งเสียง
ใต้นภาเหลียวไปเบื้อง ทะเลอ่าวสุดสายตา
เย็นอุราลมพัด บักพร้าวตีใบเต้น
เห็นทะเลสีฟ้า อุปมาฟ้าเบื้องล่าง
ยามนี้ทางลุ่มใต้ คนพวมได้ตื่นนอน
ปี ๔๗ พวมสิข่อน จรอ่วยสิลาหนี
ปีระกาพวมขัน ๔๘ หันเข้ามาใกล้
คนทั้งหลายมาข่อน ฮับพรมื้อปีใหม่
ประเทศไกลประเทศใกล้ มาทางใต้ประเทศเฮา
การท่องเที่ยวเริ่มก้าว กระโดดแข่งขันกัน
สร้างสีสันฮับคน จนชื่อนามดังก้อง
เกาะพีพีเป็นหม่อง ลือนามงามเด่น
เป็นอันดับต้นต้น ของโลกว่างาม
อันดับสามทุกทวีป คนฮีบแล่นมาดู
เกาะกะชูชื่อเสียง เป็นดั่งนามคนย้อง
เป็นเมืองทองแหล่งท่องเที่ยว ทัวร์มาเทียวมื้อหลายเทื่อ
มาหลายครั้งกะบ่เบื่อ เหลือหัวใจพออยากย้าย มาเนาว์ยั้งอยู่ไทย
อันดามัน ทะเลใต้ หลายที่หลายจังหวัด
ชวนสัมผัสพิศมอง ส่องแยงยามเยี่ยม
เทียมสวรรค์ของคนล่าง มีพังงา ตรัง กระบี่
สตูล ระนอง หว่างนี้ มีคนเข้าแวะหลาย
ในเขตเอเชียใต้ คนพวมม่ายมาหา
จนเวลาเงินทอง ส่องใสยามนี้
ญาติโยมเอ้ย…ท้องฟ้าสีใสจ้า ตรุณาพวมเช้าใหม่
สี่โมงสายแดดเร่งจ้าคนพวมถ้ากินข้าวเช้า โฮมเต้าเอิ้นใส่กัน
จั่งว่าในตอนนั้น ไผสิอ่านมองเห็น
เป็นจั่งธรรมดาเคย บ่เปลี่ยนเลยจากเค้า
น้ำขาวขาวที่ไหลนิ่ง ทางใต้ตีงเกิดคลื่นใหญ่
บ่ทันชั่วอึดใจ ถาโถมใส่บ่ยัง พังหน้าบ่สน
พัดเอาไม้ทั้งต้น คน รถ อาคารหาย
สูบเอาไปในทะเล เด่ซาวบ่ทันช่วย
ปานยักษ์กวยแผ่นดินแกล้ง น้ำสีแดงขี้ตมหย่อง
มองไปไสแปนม้าง จมเกี้ยงมิดทะเล
บ้านตึกเพอาคารม้าง สิเหลือหยัง…ประสาคนน้อยใหญ่
สิ่งที่น่าอนาถใจ อุ้มลูกไว้แท้แท้ หนีแล้วฟั่งบ่ทัน
โศกสุดกลั้น วิโยคอย่างแสนสาหัส
กรรมหยังน้อพาพัด ซัดตำบาปเวรฮ้าย
ภัยอันเกินสิจาต้าน ทุกข์มหันต์ทุกก้ำฝ่าย
มันสุดแสนเสียใจ ลูกเมียหายพ่อแม่ฮ้อง เฮไห้ฮ่ำหา
เสียงเอิ้นกันก้องฟ้า มาหาแม่…เด้อทูนหัว
พ่อแม่คัวกอดกัน สั่นสายหทัยน้อย
แสนสิออยออดเว้า เอาหยังมาล่อให้อุ่น
มีแต่บุญซ่อยไว้ บ่ตายเพิ่มดั่งเขา
ศรีลังกา อินโดเข้า ตายเป็นหมื่นน่าสงสาร
ของเฮาพันประมาณนับ แต่เห็นในวันนี้
ความทวีแสนกลั้น เกินรำพันอันยิ่งใหญ่
น้ำตาไทยหลั่งย้อยน้ำใจไทยกะหลั่งล้น คนไทยช่วยเบิ่งกัน
จั่งว่าตอนนี้นั้น บ่ควรผ่านไปเฉย
บ่ควรเลยดูดาย ใส่ใจสมควรช่วย
มีหยังอำนวยได้ กำลังใจให้เติมตื่ม
เฮาบ่ลืมกันแท้แท้ คราวนี้เพิ่งซุคน
สรุปผลในตอนนี้ เอาความดีมาแจกแบ่ง
แม่นแฮงหยัง..สิท่อแฮงซ่อยจากเจ้าแฮงใจเข้าซ่อยภัย ฯ
แต่งไว้เมื่อหลังเกิดเหตุ วันที่ 26 ธ.ค.48
land11รำลึกสึนามิ 2
เสียง…?
เสียงคลื่นดังซ่าซ่า ไหลบ่าบ่ทันหนี
เสียงน้ำตีเรือไหว ใส่หาดทรายบ่มียั้ง
เสียงน้ำดังทะมึนคลื่น กลืนคนกำลังแล่น
เสียงหวีดฮ้องทั่วแดนควาแขนกันขวาซ้าย หนีตายขึ้นบ่อนสูง
เสียงตึกเฮือนพังล้ม บ้านถล่มแปนหาย
เสียงแล่นหนีความตาย คุบคะมำสะยานเต้น
เสียงไซเรนดังก้อง เอิ้นขึ้นมองหม่องสูงก่อ
เสียงร้องขอความช่วยเหลือไจ้ไจ้ เทิงไห้กะพ่องกัน
เสียงน้ำไหลเกินสิกั้น คูขั่นแก่นปูนหรือหิน
เสียงกลืนกินอย่างใจเย็น อิ่มบ่เป็นทะเลฮ้าย
เสียงฮ้องไห้หาพี่น้อง ผองลูกเมียคณาญาติ
เสียงต่างชาติฟังบ่แจ้ง แสดงได้แต่ท่าทาง
เสียงครวญครางบัดน้ำฮ้ายคลื่นใหญ่สงบลง
เสียงขอโลงใส่ศพ นบมือวอนไหว้
เสียงคนหายหาเอิ้น เตินกันอยู่ไสแน้
เสียงพ่อแม่ว่าลูกข้อย หายจ้อยมิดทะเล
เสียงหามแปลแบกคนฮ้อง คนเจ็บส่องแสวงหา
เสียงความเวทนาถึง อึงคะนึงวายวุ่น
เสียงอุดหนุนน้ำใจแจ้ง แสดงความสงสาร
Thursday, 4 August 2011
ຄຳຜຍາ
ผญาอีสาน รวบรวม โดย บ่าวริมโขง ******************* "พี่น้องเอย เพิ่นว่าเมืองอีสานนี่ดินดำน้ำซุ่ม ปลากุ่มบ้อนคือแข้แกว่งหาง ปลานางบ้อนคือขางฟ้าลั่น จั๊กจั่นฮ้องคือฆ้องลั่นยาม คนมีศีล ดินมีน้ำ บ่ห่อนขาดเขินบก ฝูงหมู่สกุณานก บินซวนซมปลายไม้ ไทเมืองไกล เมืองใกล้ ไปมาได้จอดแว้ น้ำใจหลายดีแท้น้อ หมู่เฮาซาวอีสาน ซั่นแล้ว" คันเจ้าได้ขี่ซ่าง อย่าลืมหมู่หมูหมา ห่าขโมยมาลัก สิเห่าหอนให้มันย่าน ลางเทือกวงฟานเต้น นำดงสิได้ไล่ ลางเทือได้ต่อนสิ้น ยังสิได้อ่าวคุณ...อยู่เด้ พี่น้องเอ้ย เพิ่นว่าชมรมฯอีสานจุฬาฯเฮานี่ มีดีอยู่หลายอย่าง อยากให้ซ่อยฮักษาไว้ อย่าไลถิ่มเปล่าดาย คั่นสิพากันสร้าง แปงทางให้มันเกี้ยง อันว่าเรื่องปากเสียง ให้อดสาเก็บไว้ ไม้ลำเดียวอ้อมฮั่วบ่อยู่ ไหมหลายไจดึงซ้างจังสิคือ แท้นอ ขอให้ฮักกันไว้...
ຜຍາປຣັຊຍາຊີວິດ
ผญาภาษิตสะท้อนปรัชญาชีวิต
ຜຍາ ຄືປຣັຊຍາລາວ ສະທ້ອນຊີວິດ ຄືປັນຍາພາສິດລາວທີ່ເປັນມໍຣະດົກຕົກທອດຈາກບັນພະຊົນລາວທີ່ສ້າງສັນໄວ້ ລູກຫຼາຍຜູ້ເກິດໃໝ່ໃຫຍ່ລຸນ ໄດ້ເກັບກຳຮີບໂຮມໄວ້ ຮຽກວ່າ ປຣັຊຍາພາສິດ.
-----------
ຜຍາພາສິດ.
- ຜຍາພາສິດ ເປັນຄຳສອນສະທ້ອນເຖິຣະບົບສັງຄົມໃນອະດີດ ຫຼືອະນາຄົດທີ່ທຸກຄົນເນັ້ນໜັກເຖິງ ແລະຫາທາງປ້ອງກັນຄວາມເດືອດຮ້ອນ ແລະຄວາມເສື່ອໂຊມທາງສັງຄົມ ອັນຈະເກີດຂຶ້ນໃນພາຍພາກໜ້າ ທີ່ມະນຸດກຳລັງກ້າວເຂົ້າໄປຫາ ແລະຜະເຊີນຢູ່, ເປັນເວລາເກືອບສະຕະວັດ ຊາວອາຊີ ກໍຄືຊາວລາວເຮົາ ກຳລັງເດີນຕາມເສັ້ນທາງຣະບົບຣັດຖະສາດແບບຕາເວັນຕົກ ອັນທີ່ເຂົາຮຽກວ່າ ເສຣີນິຍົມ ຫຼືສັງຄົມເປີດ, ແນວຄິດແບບນີ້ ໄດ້ຄອບງຳແນວຄິດທາງຣັດຖະສາດຂອງຊາດໄປຢ່າງໜ້າເສັຍດາຍ ນັກຣັດຖະສາດລາວຫຼາຍທ່ານອາດຈະມອງກາຍ ປຣັຊຍາຊີວິດລາວ ໂດຍທີ່ບໍ່ຮູ້ວ່ານັ້ນ ຄືພື້ນຖານທາງຣັດຖະສາດທີ່ສຳຄັນ ເຊິ່ງລາວເຮົາໃຊ້ປົກຄອງປະເທດລ້ານຊ້າງທີ່ກວ້າງໃຫຍ່ມາຢ່າງໝັ້ນ ຄົງຮອດ 4-500 ປີ, ຜຍາພາສິດ ຄືປຣັຊຍາຊິວິດ ທີ່ສະທ້ອນການດຳເນີນຊີວິດຂອງຜູ້ຄົນໃນສັງຄົມລາວໃນໄລຍະໜຶ່ງ ສັງຄົມຊົນນະບົດບາງສັງຄົມ ເມື່ອ 20 ກວ່າປີຜ່ານມາອາດຊິຍັງໃຊ້ຢູ່ແຕ່ດຽວນີ້ຂາດຫາຍໄປ ເພາະລາວກຳລັງກ້າວເດີນເຂົ້າສູ່ສັງຄົມບໍຣິໂພກນິຍົມ.
1.1. ສະທ້ອນພາບສັງຄົມ:
- ລັກສະນະທາງສັງຄົມລາວນັ້ນ ຍ່ອມມິວີຖີຊີວິດຂອງຕົນເອງອັນເປັນສັງຄົມມະຫາພາກຂອງຊາວລ້ານຊ້າງ, ສັງຄົມຂອງຊາວລ້ານຊ້າງແຕ່ລະ ທ້ອງຖິ່ນກໍຍ່ອມມີວິຖີຊີວິດຂອງຕົນເອງ, ສັງຄົມລາວກໍເຊັ່ນດຽວກັບສັງຄົມໂລກ ຍ່ອມຂຶ້ນກັບອາຊີບ ແລະການດຳຣົງຊີວິດ ກ່າວຄື ການລ່າສັດ, ສັງຄົມກະເສດປູກຝັງ ເຮັດໄຮ່ ໃສ່ນາ ລ້ຽງສັດ, ສັງຄົມຊົນເຜົ່າ, ເຈົ້າກົກເຈົ້າເລົ່າ ເຊິ່ງແຕ່ລະສັງຄົມຍ່ອມມີຣະບົບເສດຖະກິດ ການເມືອງ ແລະວັດທະນະທັມທີ່ຕ່າງກັນ ຜົນສະທ້ອນອອກມາກ ເຜັນວິຖີຊີວິດຕາມໃນຍະແຫ່ງສຸພາສິດຂອງຊາວລ້ານຊ້າງທີ່ຂະຈາຍອອກມາຈາກ ສັງຄົມຄອບຄົວ ຊຸມຊົນ ແລະສັງຄົມລວມຂອງຊາດ.
- ການດຳເນີນຊີວິດ ຢູ່ຮ່ວມດັນໃນສັງຄົມຂອງມະນຸດຈຳເປັນຕ້ອງມີກົດເກນ ເປັນຕົວຊີ້ທາງໃຫ້ສະມາຊິກຂອງສັງຄົມດຳເນີນໄປຕາມຄັນລອງ ທີ່ສັງຄົມຕ້ອງການ ເຄື່ອງມີໃນການຊີ້ທາງດັ່ງກ່າວ ຈຶ່ງຖືກກຳນົດຂຶ້ນໃນຮູບແບບບັນທັດຖານທາງສັງຄົມ ຄ່ານິຍົມທີ່ໄດ້ເກີດຂຶ້ນຈາກບຸກຄົນ ກຸ່ມຄົນ ແລ້ວຖ່າຍທອດມາ ວ່າເຮົາມີການຕັດສິນທີ່ຈະເລືອກແນວທາງໃນການປະຕິບັດຂອງຕົນຕາມປັດເຈກຊົນ ຊາວລາວເຮົາໃຫ້ຄວາມສຳ ຄັນກັບຄຳຖາມທີ່ວ່າ ເຮົາຄວນຈະເລືອກການມີຊີວິດຢູ້ຢ່າງໃດ ? และควรทำอย่างไร และควรเว้นอะไร สิ่งเหล่านี้ล้วนมีอย่างละเอียดตั้งแต่เรื่องของมารยาท การเลือกคบคนอย่างไรจึงจะดี และควรเลือกคนอย่างไรมาเป็นคู่ชีวิตของตนเอง และจะปฏิบัติต่อคนประเภทต่างๆอย่างไร เช่น กับพ่อแม่ พ่อตาแม่ยาย ลูกเขย ลูกสะใภ้ และต่อพระสงฆ์ ควรจะวางตนอย่างไร เป็นหน้าที่ของจริยธรรมจะชี้บอกทางให้ และสังคมชาวอีสานยังมีเอกลักษณ์อย่างหนึ่งคือ เป็นชุมชุนที่ยึดถือระบบญาติมิตรมาก เพราะความจำเป็นทางสังคมก็ดี ทางสิ่งแวดล้อมก็ดีล้วนแต่เป็นปัจจัยเกื้อกูลกันและกันให้ชาวอีสานต้องทำอย่างนั้น และชาวอีสานชอบแสวงหาความสงบสันติทางสังคม ดังจะเห็นอิทธิพลของสุภาษิตอีสานซึ่งเท่าที่พบจากวรรณกรรมคำสอนต่างๆพอประมวลจริยธรรมของบุคคลต่างได้ ๖ ประการคือ
๑ ) บิดามารดา
พ่อแม่เป็นผู้มีพระคุณต่อลูกๆสุดจะพรรณนา และรักลูกยิ่งกว่าสิ่งใด ถ้าจะเปรียบก็ประดุจดวงตาดวงใจก็ไม่ผิด พ่อแม่ทุกคนย่อมตั้งอยู่ในคลองธรรมและปฏิบัติต่อลูกหลาน ในสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ลูก อุตสาห์เลี้ยงดูตั้งแต่เล็กจนโต ให้ลูกได้ศึกษาเล่าเรียนความรู้ซึ่งจะช่วยให้ลูกมีสติปัญญาแนะนำเกี่ยวกับการอาชีพ สำหรับลูกผู้ชายเมื่อมีอายุครบบวชพ่อแม่ก็จัดการบวชให้ พ่อแม่ย่อมเอื้ออาทรรักและห่วงใยลูก สิ่งใดไม่ดีพ่อแม่ก็แนะนำห้ามปราม มิให้กระทำชั่วพยายามให้ตั้งอยู่ในคุณความดี จัดหาคู่ครองที่สมควรหรือจัดแต่งงานให้ตามจารีตประเพณีและหากมีทรัพย์ก็มอบให้ลูกครอบครองแทนตนต่อไป พ่อแม่มีพระคุณต่อลูกถึงจะด่าลูกๆบ้างก็เพื่อความหวังดีของท่าน ดังคำกลอนสุภาษิตว่า
พ่อแม่ฮักลูกเต้าเสมอดังดวงตา เถิงซิมีคำจาด่าเซิงคำฮ้าย
เผิ่นหากหมายดีด้วยดอมเฮาจั่งฮ้ายด่า ความปากว่าบ่แพ้หัวใจนั้นหากบ่นำ
ยามเฮามีความต้องเจ็บเป็นไข้ป่วย เผิ่นบ่ป๋าปล่อยถิ่มเฮาไว้ถ่อเม็ดงา
มีแต่แหล่นซ้วนหน้าหาของกินมาฝาก ยากนำลูกน้อยๆความเว้าจ่มบ่เคย 5 นุ่ม
ภาคอีสานมีระบบเครือญาติที่สูงซึ่งจะพบว่าบรรดาลุง ป้า น้า อา และพี่ นับเป็นญาติชั้นสูงอาวุโส ควรรู้วางตนให้สมกับเป็นที่เคารพนับถือของลูกหลานและญาติพี่น้อง มีเมตตาธรรมไม่ถือตัวโอ้อวดมีอะไรก็ช่วยสงเคราะห์เป็นที่พึ่งพาอาศัยของญาติพี่น้องลูกหลานได้ หากลูกหลานและญาติพี่น้องถูกใคร่รังแกก็อาศัยเป็นที่พึ่งพากันในยามทุกข์ยากได้ คุณปู่ ย่า ย่อมเป็นที่รักและเคารพของลูกหลาน เปรียบประดุจด้วยเป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของลูกหลานดังคำโบราณอีสานว่า ดังคำโบราณว่า
ฝูงเฮาผู้เป็นลุงป้าอาวอาน้าพี่ ให้มีใจฮักพี่น้องวงศ์เชื้อลูกหลาน
คนใดมีทุกข์ฮ้อนอ้อนแอ่วมาหา ซ่อยอาสาเป่าปัดให้ส่วงคลายหายเศร้า
การครองย้าว เอาศีลธรรมเป็นที่เพิ่ง ตามเปิงฮีตบ้านปางเค้าเก่ามา
ไผมีงานหนักหนาให้หาทางซดซ่อย บรรดาลูกหลานส่ำน้อยดีใจล้ำอุ่นทรวงฯ
อันปู่ย่านั้นหากฮักลูกหลานดั่งเดียวหลาย ทั้งตายายก็ฮักลูกหลานหลายดั่งเดียวกันนั้น
ลูกหลานเกิดทุกข์ยากไฮ้ได้เพิ่งใบบุญ คุณของปู่ย่าตายายหากมีหลายเหลือล้น
ควรที่ลูกหลานทุกคนไหว้บูชายอยิ่ง เปรียบเป็นสิ่งสูงยกไว้ถวยเจ้ายอดคุณ
บุญเฮาหลายแท้ที่มีตายายปู่ย่า เพราะว่าเพิ่นเป็นฮ่มให้เฮาซ้นอยู่เย็น ฯ
แม้แต่ผู้ที่ไม่ใช่ญาติตนเองก็ยังมีความนับถือกัน ซึ่งจะมีทั้งคนที่มีคุณธรรมในชุมชนของตนเองก็ยังได้รับการเคารพ โดยถือกันว่าเป็นแนวทางของการปฏิบัติต่อท่านผู้สูงอายุ ธรรมเนียมของชาวอีสานมักจะเคารพผู้อาวุโสในด้านต่างๆอาจเป็นด้วยวัยวุฒิ คุณวุฒิ และชาติวุฒิเป็นต้น ดังนั้นคนเฒ่าคนแก่จะควรเป็นแบบอย่างให้แก่ลูกหลานทั้งในด้ายความประพฤติและด้านจิตใจ ดังคำโบราณอีสานว่า
เป็นผู้เฒ่าให้ฮักลูกหลานเหลน เป็นขุนกวนให้ฮักการเมืองบ้าน
สมสถานเบื้องเฮิงฮมย์ถ้วนทั่ว อย่าได้ฮักผิ่งพุ้นซังพี้บ่ดี
อันว่าเฒ่าบังเกิดสามขานั้นฤา หมายถึงคนวัยสูงผู้ควรถือหน้า
ย้อนว่าเอาตนเข้าถือศีลฟังเทศน์ เถิงกับสักค้อนเท้าไปด้วยใส่ใจ
ชาติที่เฒ่าบ่ฮู้วัตรคลองธรรม ปาปังแถมซู่วันเวียนมื้อ
เถิงว่าวัยชราเฒ่าหัวข่าวแข้วหล่อน อายุฮ้อนขวบเข้าบ่มิผู้นับถือ แท้แหล่ว
๓.๒.๓.๓. สามีและภรรยา
ภรรยาคือชื่อว่าเป็นช้างท้าวหลังธรรมเนียมชาวอีสานเรียกว่าธรรมเนียมของภรรย169 เป็นการสอนในการครองเรือนให้มีความสุขที่เป็นข้อปฏิบัติสำหรับสามีภรรยาที่ต้องมีความรักใคร่ต่อกัน การประพฤติหลักของอีตผัวคองเมียนี้นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะธรรมดาทัศนะคติของคนสองคนที่มาเป็นคู่ครองกันนั้นย่อมแตกต่างกันไปตามอุปนิสัยบางคนแข็งกระด้างบ้างคนอ่อนน้อม ดังนั้นปราชญ์อีสานจึงสอนว่าการเป็นสามีภรรยากันนั้นมันง่ายแต่จะครองรักอย่างไรจึงจะมีความสุขได้ ตามความเชื่อของคนไทยโบราณสอนว่าสามีเป็นช้างเท้าหน้าภรรยาเป็นช้างเท้าหลัง เพราะสมัยโบราณนั้นผู้หญิงก็มีความเชื่อเช่นนั้นเป็นทุนอยู่เดิมเหมือนกันดังจะเห็นได้จากวรรณกรรมของอีสานทุกเรื่องจะอบรมสั่งสอนลูกหญิงให้เชื่อฟังผู้เป็นสามีแต่ฝ่ายเดียว อาจเป็นด้วยเหตุก็ได้ที่ทำให้หญิงไทยชาวอีสานเป็นช้างเท้าหลังตลอดมา แต่ในภาวะทุกวันนี้ทัศนะให้เรื่องเหล่านี้เริ่มเสื่อมลงไปตามภาวะเศรษฐกิจและบ้านเมืองที่เจริญมากขึ้นสิทธิสตรีก็เสมอกับชายทุกประการ แต่ถึงกระนั้นก็ตามหญิงก็คือหญิง สุภาษิตอีสานจะสอนให้ผัวเมียได้รู้จักปรับตัวเองให้เข้ากับสถานภาพของตน คือเมื่อเป็นสามีภรรยากันจะต้องรู้จักให้เกียรติกัน เคารพญาติทั้งสองฝ่าย ให้มีความขยันมั่นเพียรในการทำมาหากิน ให้รักเดียวใจเดียวชื่อสัตย์ต่อกัน ดังคำกลอนสุภาษิตโบราณอีสานสอนในเรื่องหน้าที่ของภรรยาไว้ ๕ ประการว่า
๑) กิจการบ้านให้ทางเมียเป็นใหญ่ให้เมียเป็นแม่บ้านการสร้างซ่อยผัว
๒) ให้มีจาจาเว้าแถลงนัวเว้าม่วนอย่าได้ซึมซากฮ่ายคำเข้มเสียดสี
๓)ให้เมียเคารพชาติเชื้อสกุลฝ่ายทางผัวอันว่าญาติกาวงศ์วานทางฝ่ายผัวให้ค่อยยำเกรงย้าน
๔) ให้ฮู้จักทำการเกื้อบริวารเว้าม้วนสงเคราะห์ญาติพี่น้องเสมอก้ำเกิ่งกัน
๕) สินสมสร้างศฤงคารทรัพย์สิ่งผัวมอบให้เมียฮู้ฮ่อมสงวน
แม่ศรีเรือนตามที่ปรากฏในคำสอนชาวอีสานนั้นยังมีอีกนัยหนึ่งคือการใช้จ่ายทรัพย์ที่สามีหามาได้นั้นจะต้องคิดถึงความคุ่มค่าของสิ่งที่จะชื่อให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัวมากที่สุด ดังคำสอนที่ว่า
ควรที่จับจ่ายซื่อของจำเป็นสมค่าอย่าได้จับจ่ายใช้หลายล้นสิ่งบ่ควร
คันแม่นทำถึกต้องคองผัวเมียโบราณแต่งจักลุลาภได้ชยะโชคเจริญศรี
สถาพรพูนผลซู่อันโฮมเฮ้าจักงอกงามเงยขึ้นอุดมผลสูงส่งเงินคำไหลหลั่งเข้า
เจริญขึ้นมั่งมีบริบูรณ์ศรีสุขทุกข์บ่เวินมาใก้ล
นอกจากนี้ยังมีข้อแนะนำสำหรับผู้เป็นศรีภรรยาที่พึ่งยึดถือปฏิบัติตนในการครองเรือน การจะครองเรือนให้มีความผาสุขได้นั้นจะต้องมีทั้งจรรยามารยาทอันดีงามต่างๆเข้ามาประกอบด้วยคือประกอบพร้อมทั้งทางกาย วาจา และน้ำใจของภรรยา ซึ่งจะพบมากในคำกลอนโบราณของอีสานที่มักจะสั่งสอนลูกสาวของตนที่จะแยกครอบครัวออกไปจากพ่อแม่ ซึ่งชาวอีสานเรียกว่าข้อวัตรปฏิบัติสำหรับผู้เป็นภรรยา ดังคำสอนนี้ คือ
แนวแม่หญิงนี้บ่มีผัวซ้อนนอนนำก็บ่อุ่นแม่หญิงซิตั้งอยู่ได้เป็นใหญ่ใสสกุลก็เพราะคุณของผัวคว่ามาแปลงสร้างแม่หญิงนี้ซิมีคนย้านนบนอบยำเกรงก็เพราะบุญของผัว แม่หญิงซิมีคนล้อมบริวารแหนแห่ ก็ย้อนผัวแท้ๆอย่าจาอ้างว่าโต ผัวหากโมโหฮ้ายใจไวเคียดง่าย ให้นางเอาดีเข้าใจเว้าอย่างแข็ง อย่าได้แปลงความส้มขมในให้ผัวขื่น ให้เอาดีขื่นไว้ใจเจ้าให้อ่อนหวาน อุปมาเปรียบได้ดั่งอ้อมันหากอ่อนตามลม ธรรมดาว่าอ้อลมมาบ่ห่อนโค่น เพราะว่ามันบ่ตั้งขันสู่ต่อลม คือดังสมเสลานัอยสอยวอยงามยิ่ง ก่อผัวซิฮักกล่อมกลิ้งแฝงผั้นบ่มาย เพราะนางเป็นคนดีได้ใจบุญสอนง่าย บ่เป็นคนบาปฮ้ายใจบ้าด่าผัว มีแต่ทำโตน้อมถนอมผัวโอนอ่อน บ่แสนงอนดีดดิ้นศีลห้าหมั่นถนอม หาแต่แนวมาล้อมศีลธรรมคำขอบ เว้านอบน้อมต่อผัวนั้นซู่วัน
นี้คือคุณสมบัติของสตรีชาวอีสานที่ปฏิบัติต่อสามีและบุคคลๆ ตลอดถึงมีความขยันและเอาใจใส่ในพระพุทธศาสนา และให้ตั้งมั่นอยู่ในศีลและธรรมพร้อมทั้งเป็นผู้มีจิตใจอันเป็นบุญเป็นกุศล นี้คือกุลสตรีตามทรรศนะของคำสอนอีสาน จะพบว่าเป็นยอดหญิงอย่างแท้จริง ถ้าทำได้อย่างนี้
๑.สามี
๑) ให้ผัวพาเมียสร้างนาสวนปลูกหว่านพาเมียเป็นแม่บ้านครองเย้าให้อยู่ดี
๒) ให้วาจาเว้าแถลงนัวเว้าม่วนอย่าได้ซึกซากฮ่ายคำเข้มเสียดสี
๓) ให้เคารพชาติเชื้อสกุลฝ่ายทางเมีย
๔) การละเล่นหวยโปเบี้ยถั่วทางนักเลงสุราพร่ำพร้อมอย่าวอนเว้าอ่าวหา
๕) สินสมสร้างศฤงคารทรัพย์สินมอบให้เมียเมี้ยน(เก็บรักษา)ไว้ในย้าวจั่งแม่นคอง
(ให้สามีพาภรรยาทำไร่ทำนาปลูกผักและนำพาเมียเป็นแม่บ้านที่ ให้พูดจากันด้วยความไพเราะอย่าได้พูดจาเสียดสีกันเอง ให้เคารพตระกุลหรือญาติฝ่ายทางภรรยา และให้หลีกหนีทางฉิบหายคือการเล่นหวย ไฮ่โล โปถั่วกระทั้งนักเลงสุราอย่าได้เข้าใกล้มันเลย อีกทั้งทรัพย์สมบัติทั้งปวงที่หามาให้มอบให้ภรรยาเป็นผู้ดูแล) ดังนั้นวัตรปฏิบัติที่สามีหรือลูกผู้ชายคือทำนั้น คนโบราณอีสานมักสอนไว้ดังนี้คือ
ขอให้เจ้าตื่นเดิกไปไฮ่ก่อนกา ขอให้เจ้าตื่นเดิกไปนาก่อนไก่
ให้เจ้าไปจับฮั่วอ้อมบ่อนควายเลียม บ่าแบกเสียมทั้งไปยามส้อน
เลยเบิ่งต้อนเบิ่งหลี่เบิ่งไซ เห็นน้ำไหลคันนาให้ฮีบอัดเอาไว้
ปีใดแล้งย่อมได้กินข้าวปลา ให้เจ้ามีปัญญาคึดหาเครื่องปลูก
ทั้งส้มสูกกล้วยอ้อยของเจ้าซู่ยาม ตามดอนนาปลูกพริกหมากเขือน้ำเต้า
ทั้งหมากพร้าวมี้ม่วงตาล ส้มและหวานหมากพลูอย่าคร้าน
(ขอให้เจ้าตื่นแต่เช้าไปไร่ก่อนกา ขอให้เจ้าตื่นดึกไปนาก่อนไก่ ให้เจ้าไปทำรั่วล้อมไม่ให้ควายเข้าได้ทั้งบ่าเจ้าให้ถือเอาเสียมและไปกู้ต้อน(ที่ดักปลา) พร้อมทั้งดูต้อนและดูหลี่ ดูไซ เห็นน้ำไหลเข้าคันนาให้รีบปิดเอาไว้ ปีใดน้ำแล้งย่อมได้กินข้าวและปลา ให้เจ้ามีปัญญาคิดหาเครื่องปลูก ทั้งส้ม กล้วย อ้อยของเจ้าทุกเวลา ตามที่ตอนในนาให้ปลูกพริกและมะเขือและน้ำเต้า อีกทั้งมะพร้าว ขนุน มะม่วง และต้นตาล ทั้งเปรี้ยวและหวาน หมากพลูกอย่าเกลียดคร้าน) คำสอนนี้มุ่งเน้นให้ผู้ชายควรรู้จักขยันทำมาหากินเพื่อความมั่งคั่งของครอบครัว และยังสอนให้สามีควรรู้จักแสวงหาเครื่องมือในการประกอบอาชีพต่างๆ เช่น แห่ สุ่ม และเครื่องมือในการทำนา ดังคำสอนนี้คือ
คันเจ้าอยู่บ้านให้เบิ่งเฮือนซาน เบิ่งสถานปักตูป่องเอี้ยม
ให้เจ้าเยี่ยมเบิ่งข้อง แห มอง ทั้งสุ่ม ของซุมนี้แพงไว้เฮ็ดกิน
ฝนตกรินฮำย้อยอย่าถอนกลัวย่าน เถิงซิตกสาดพังฮองเข้าใส่โองไห
คาดไถแอกให้หลาไนมีทุกสิ่ง ทั้งสวิงกำพ้นฟืมพร้อมใส่กระส่วย
ของหมู่นี้ซิซ่อยให้มีอยู่มีกิน ผัวให้ยินดีหาอย่าไลลาค้าน
อันหนึ่งให้เจ้าค้าซื้อถึกขายแพง คึดล่ำแยงหาเงินใช้จ่าย
ขายหมากไม้แม่วัวโตควาย ทางใดซิรวยให้เจ้าคึดฮำดูเลิงถ้อนฯ
(ถ้าเจ้าอยู่บ้านให้ดูแลบ้านเรือนดูทุกอย่างทั้งประตูหน้าต่าง ให้เจ้าดูแลข้อง แห มอง ทั้งสุ่ม ของพวกนี้รักษาไว้ทำกิน เมื่อฝนตกรินอย่าเกรงกลัว ถ้าฝนตกมากให้รีบรองเอาไว้ใส่ตุ่ม ทั้งคาดไถแอก หลา ไน มีทุกอย่าง ทั้งสวิง กำพัน ฟืม กระส่วย (เครื่องอุปกรณ์ในการกอด้ายนำมาทอเป็นผ้า) สิ่งของเหล่านี้จะช่วยให้มีสิ่งของใช้ สามีให้ยินดีหามาอย่าได้ขี้เกลียด อีกอย่างหนึ่งให้เจ้าค้าขายด้วยการซื้อถูกขายแพง คิดให้ดีทางหาเงินมาใช้จ่าย มีขายผลไม้ วัว ควาย ทางไหนจะร่ำรวยให้เจ้าคิดพิจารณาให้รอบคอบ)
วัตรปฏิบัติสำหรับผู้เป็นสามี คือ
ขอให้เจ้าตื่นเดิกไปไฮ่ก่อนกา ขอให้เจ้าตื่นเดิกไปนาก่อนไก่
ให้เจ้าไปจับฮั่วอ้อมบ่อนควายเลียม บ่าแบกเสียมทั้งไปยามส้อน
เลยเบิ่งต้อนเบิ่งหลี่เบิ่งไซ เห็นน้ำไหลคันนาให้ฮีบอัดเอาไว้
ปีใดแล้งย่อมได้กินข้าวปลา ให้เจ้ามีปัญญคึดหาเครื่องปลูก
ทั้งส้มสูกกล้วยอ้อยของเจ้าซู่ยาม ตามดอนนาปลูกพริกหมากเขือน้ำเต้า
ทั้งหมากพร้าวมี้ม่วงตาวตาล ส้มและหวานหมากพลูอย่าคร้าน
๓.๒.๓.๔. มิตรและสหาย
การจะมีจะมีชีวิตที่เจริญก้าวหน้านั้นควรที่จะเลือกสรรหาแต่คนที่ดี เพื่อนำทางชีวิตของตนให้ไปในทางเจริงรุ่งเรืองและเว้นจากมิตรที่จะนำทางไปในทางเสื่อม นั้นคือความมีเพื่อนที่ดีควรเว้นเพื่อนที่เลว แม่แต่ในพุทธปรัชญาก็เน้นมากในเรื่องการเลือกคบกับบัณฑิต ดังคำผญาภาษิตอีสานว่า
อันหว่าบัณฑิตล้ำทรงธรรมทัดเที่ยง ก็หากหายากแท้ในพื้นแผ่นดินถ่านเอย
บาดหว่าคนซั่วฮ้ายหีนะโหดแนวพาล มันหากมีทั้งผองทั่วแผ่นดินแดนด้าว หน้า 31นุ่ม
ลักษณะทางร่างกายของคนก็มีส่วนสำคัญเช่นกันที่จะทำให้ทราบในเบื้องต้นว่าคนอย่างใดควรจะคบเป็นมิตรสหายได้ทรรศนะของปรัชญาอีสานได้กล่าวถึงนรลักษณ์ว่า “ตาบอดอย่าเอาฮ่วมเฮียน ตาเบียนอย่าเอาฮ่วมบ้าน ขี้คร้านอย่าเอาเป็นหมู่เป็นฝูง 1การคบคนเช่นใดย่อมจะแสดงพฤติกรรมไปตามบุคคลนั้น การสมาคมกับคนที่เป็นมิตรเทียมนั้นมักจะส่งผลในทางเสียหายมากกว่าดังสุภาษิตว่า “อย่าเกลือกกลั้วฝูงหมู่คนพาล มันสิพาเฮาตกต่ำตอยเป็นข้า2 การนับเอาสิ่งไม่ดีไปปูบนเรือนนั้นย่อมไม่งามเช่นเดียวกันกับการไม่จริงใจต่อเพื่อนก็ไม่เหมาะที่คบเช่นกัน ดังสุภาษิตว่า “เชื้อสาดคล้าอย่าได้ปูเฮือน คนตาเบือนอย่าเอาเป็นเพื่อนพ้อง มันสิเป็นล้องค้องคือเกี่ยวสองคม3 รูปแบบเป็นสิ่งจำเป็นยิ่งสำหรับคนเพราะคนจะดีหรือเลวนั้นมีส่วนหนึ่งเกิดจากการเรียนแบบมากจากบุคคลอื่น ปรัชญาอีสานได้สอนให้รู้จักเลือกแบบที่ดีงามและเว้นตัวอย่างที่ไม่ดีเสีย ดังคำสุภาษิตว่า “คนใจทรามอย่าเอาเป็นแบบ คนใจแคบอย่าได้เป็นฝูง คนใจสูงจั่งย่างนำก้น4 กรรมเท่านั้นที่ส่งผลมาให้ชีวิตมนุษย์เรามีรูปร่างหน้าตาที่ดีงามหรือขี่เหร่ ไม่มีใครเลือกได้แต่บางอย่างนั้นเมื่อเราไม่มีก็ควรหาสิ่งที่ตนเองขาดไปมาเพิ่มเติมให้เติมได้ ถ้าญาติไม่มีก็ควรหาเพื่อนมาทดแทนญาติพี่น้องได้ ดังสุภาษิตว่า “ผมบ่หลายให้เติ่มซ้อง พี่น้องบ่หลายให้ตื่มเสี่ยว5 มิตรมีความสำคัญยิ่งสำหรับเป็นพื้นฐานของชีวิตมนุษย์เรา เพราะมนุษย์นั้นเป็นสัตว์สังคมจะต้องพึ่งพาอาศัยกันและกัน ดังคำกลอนสอนว่า
อันนี้ขอให้หลาจื่อไว้จนกระดูกแขวนคอ อย่าได้วอวอเสียงลื่นคนทั้งหลาย
เห็นว่ามีสุขแล้วบ่เหลียวแลพวกเพื่อน คันแม่นสุขบ่ล้วนสิเหลียวหน้าเบิ่งไผ694
ຜຍາ ຄືປຣັຊຍາລາວ ສະທ້ອນຊີວິດ ຄືປັນຍາພາສິດລາວທີ່ເປັນມໍຣະດົກຕົກທອດຈາກບັນພະຊົນລາວທີ່ສ້າງສັນໄວ້ ລູກຫຼາຍຜູ້ເກິດໃໝ່ໃຫຍ່ລຸນ ໄດ້ເກັບກຳຮີບໂຮມໄວ້ ຮຽກວ່າ ປຣັຊຍາພາສິດ.
-----------
ຜຍາພາສິດ.
- ຜຍາພາສິດ ເປັນຄຳສອນສະທ້ອນເຖິຣະບົບສັງຄົມໃນອະດີດ ຫຼືອະນາຄົດທີ່ທຸກຄົນເນັ້ນໜັກເຖິງ ແລະຫາທາງປ້ອງກັນຄວາມເດືອດຮ້ອນ ແລະຄວາມເສື່ອໂຊມທາງສັງຄົມ ອັນຈະເກີດຂຶ້ນໃນພາຍພາກໜ້າ ທີ່ມະນຸດກຳລັງກ້າວເຂົ້າໄປຫາ ແລະຜະເຊີນຢູ່, ເປັນເວລາເກືອບສະຕະວັດ ຊາວອາຊີ ກໍຄືຊາວລາວເຮົາ ກຳລັງເດີນຕາມເສັ້ນທາງຣະບົບຣັດຖະສາດແບບຕາເວັນຕົກ ອັນທີ່ເຂົາຮຽກວ່າ ເສຣີນິຍົມ ຫຼືສັງຄົມເປີດ, ແນວຄິດແບບນີ້ ໄດ້ຄອບງຳແນວຄິດທາງຣັດຖະສາດຂອງຊາດໄປຢ່າງໜ້າເສັຍດາຍ ນັກຣັດຖະສາດລາວຫຼາຍທ່ານອາດຈະມອງກາຍ ປຣັຊຍາຊີວິດລາວ ໂດຍທີ່ບໍ່ຮູ້ວ່ານັ້ນ ຄືພື້ນຖານທາງຣັດຖະສາດທີ່ສຳຄັນ ເຊິ່ງລາວເຮົາໃຊ້ປົກຄອງປະເທດລ້ານຊ້າງທີ່ກວ້າງໃຫຍ່ມາຢ່າງໝັ້ນ ຄົງຮອດ 4-500 ປີ, ຜຍາພາສິດ ຄືປຣັຊຍາຊິວິດ ທີ່ສະທ້ອນການດຳເນີນຊີວິດຂອງຜູ້ຄົນໃນສັງຄົມລາວໃນໄລຍະໜຶ່ງ ສັງຄົມຊົນນະບົດບາງສັງຄົມ ເມື່ອ 20 ກວ່າປີຜ່ານມາອາດຊິຍັງໃຊ້ຢູ່ແຕ່ດຽວນີ້ຂາດຫາຍໄປ ເພາະລາວກຳລັງກ້າວເດີນເຂົ້າສູ່ສັງຄົມບໍຣິໂພກນິຍົມ.
1.1. ສະທ້ອນພາບສັງຄົມ:
- ລັກສະນະທາງສັງຄົມລາວນັ້ນ ຍ່ອມມິວີຖີຊີວິດຂອງຕົນເອງອັນເປັນສັງຄົມມະຫາພາກຂອງຊາວລ້ານຊ້າງ, ສັງຄົມຂອງຊາວລ້ານຊ້າງແຕ່ລະ ທ້ອງຖິ່ນກໍຍ່ອມມີວິຖີຊີວິດຂອງຕົນເອງ, ສັງຄົມລາວກໍເຊັ່ນດຽວກັບສັງຄົມໂລກ ຍ່ອມຂຶ້ນກັບອາຊີບ ແລະການດຳຣົງຊີວິດ ກ່າວຄື ການລ່າສັດ, ສັງຄົມກະເສດປູກຝັງ ເຮັດໄຮ່ ໃສ່ນາ ລ້ຽງສັດ, ສັງຄົມຊົນເຜົ່າ, ເຈົ້າກົກເຈົ້າເລົ່າ ເຊິ່ງແຕ່ລະສັງຄົມຍ່ອມມີຣະບົບເສດຖະກິດ ການເມືອງ ແລະວັດທະນະທັມທີ່ຕ່າງກັນ ຜົນສະທ້ອນອອກມາກ ເຜັນວິຖີຊີວິດຕາມໃນຍະແຫ່ງສຸພາສິດຂອງຊາວລ້ານຊ້າງທີ່ຂະຈາຍອອກມາຈາກ ສັງຄົມຄອບຄົວ ຊຸມຊົນ ແລະສັງຄົມລວມຂອງຊາດ.
- ການດຳເນີນຊີວິດ ຢູ່ຮ່ວມດັນໃນສັງຄົມຂອງມະນຸດຈຳເປັນຕ້ອງມີກົດເກນ ເປັນຕົວຊີ້ທາງໃຫ້ສະມາຊິກຂອງສັງຄົມດຳເນີນໄປຕາມຄັນລອງ ທີ່ສັງຄົມຕ້ອງການ ເຄື່ອງມີໃນການຊີ້ທາງດັ່ງກ່າວ ຈຶ່ງຖືກກຳນົດຂຶ້ນໃນຮູບແບບບັນທັດຖານທາງສັງຄົມ ຄ່ານິຍົມທີ່ໄດ້ເກີດຂຶ້ນຈາກບຸກຄົນ ກຸ່ມຄົນ ແລ້ວຖ່າຍທອດມາ ວ່າເຮົາມີການຕັດສິນທີ່ຈະເລືອກແນວທາງໃນການປະຕິບັດຂອງຕົນຕາມປັດເຈກຊົນ ຊາວລາວເຮົາໃຫ້ຄວາມສຳ ຄັນກັບຄຳຖາມທີ່ວ່າ ເຮົາຄວນຈະເລືອກການມີຊີວິດຢູ້ຢ່າງໃດ ? และควรทำอย่างไร และควรเว้นอะไร สิ่งเหล่านี้ล้วนมีอย่างละเอียดตั้งแต่เรื่องของมารยาท การเลือกคบคนอย่างไรจึงจะดี และควรเลือกคนอย่างไรมาเป็นคู่ชีวิตของตนเอง และจะปฏิบัติต่อคนประเภทต่างๆอย่างไร เช่น กับพ่อแม่ พ่อตาแม่ยาย ลูกเขย ลูกสะใภ้ และต่อพระสงฆ์ ควรจะวางตนอย่างไร เป็นหน้าที่ของจริยธรรมจะชี้บอกทางให้ และสังคมชาวอีสานยังมีเอกลักษณ์อย่างหนึ่งคือ เป็นชุมชุนที่ยึดถือระบบญาติมิตรมาก เพราะความจำเป็นทางสังคมก็ดี ทางสิ่งแวดล้อมก็ดีล้วนแต่เป็นปัจจัยเกื้อกูลกันและกันให้ชาวอีสานต้องทำอย่างนั้น และชาวอีสานชอบแสวงหาความสงบสันติทางสังคม ดังจะเห็นอิทธิพลของสุภาษิตอีสานซึ่งเท่าที่พบจากวรรณกรรมคำสอนต่างๆพอประมวลจริยธรรมของบุคคลต่างได้ ๖ ประการคือ
๑ ) บิดามารดา
พ่อแม่เป็นผู้มีพระคุณต่อลูกๆสุดจะพรรณนา และรักลูกยิ่งกว่าสิ่งใด ถ้าจะเปรียบก็ประดุจดวงตาดวงใจก็ไม่ผิด พ่อแม่ทุกคนย่อมตั้งอยู่ในคลองธรรมและปฏิบัติต่อลูกหลาน ในสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ลูก อุตสาห์เลี้ยงดูตั้งแต่เล็กจนโต ให้ลูกได้ศึกษาเล่าเรียนความรู้ซึ่งจะช่วยให้ลูกมีสติปัญญาแนะนำเกี่ยวกับการอาชีพ สำหรับลูกผู้ชายเมื่อมีอายุครบบวชพ่อแม่ก็จัดการบวชให้ พ่อแม่ย่อมเอื้ออาทรรักและห่วงใยลูก สิ่งใดไม่ดีพ่อแม่ก็แนะนำห้ามปราม มิให้กระทำชั่วพยายามให้ตั้งอยู่ในคุณความดี จัดหาคู่ครองที่สมควรหรือจัดแต่งงานให้ตามจารีตประเพณีและหากมีทรัพย์ก็มอบให้ลูกครอบครองแทนตนต่อไป พ่อแม่มีพระคุณต่อลูกถึงจะด่าลูกๆบ้างก็เพื่อความหวังดีของท่าน ดังคำกลอนสุภาษิตว่า
พ่อแม่ฮักลูกเต้าเสมอดังดวงตา เถิงซิมีคำจาด่าเซิงคำฮ้าย
เผิ่นหากหมายดีด้วยดอมเฮาจั่งฮ้ายด่า ความปากว่าบ่แพ้หัวใจนั้นหากบ่นำ
ยามเฮามีความต้องเจ็บเป็นไข้ป่วย เผิ่นบ่ป๋าปล่อยถิ่มเฮาไว้ถ่อเม็ดงา
มีแต่แหล่นซ้วนหน้าหาของกินมาฝาก ยากนำลูกน้อยๆความเว้าจ่มบ่เคย 5 นุ่ม
ภาคอีสานมีระบบเครือญาติที่สูงซึ่งจะพบว่าบรรดาลุง ป้า น้า อา และพี่ นับเป็นญาติชั้นสูงอาวุโส ควรรู้วางตนให้สมกับเป็นที่เคารพนับถือของลูกหลานและญาติพี่น้อง มีเมตตาธรรมไม่ถือตัวโอ้อวดมีอะไรก็ช่วยสงเคราะห์เป็นที่พึ่งพาอาศัยของญาติพี่น้องลูกหลานได้ หากลูกหลานและญาติพี่น้องถูกใคร่รังแกก็อาศัยเป็นที่พึ่งพากันในยามทุกข์ยากได้ คุณปู่ ย่า ย่อมเป็นที่รักและเคารพของลูกหลาน เปรียบประดุจด้วยเป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของลูกหลานดังคำโบราณอีสานว่า ดังคำโบราณว่า
ฝูงเฮาผู้เป็นลุงป้าอาวอาน้าพี่ ให้มีใจฮักพี่น้องวงศ์เชื้อลูกหลาน
คนใดมีทุกข์ฮ้อนอ้อนแอ่วมาหา ซ่อยอาสาเป่าปัดให้ส่วงคลายหายเศร้า
การครองย้าว เอาศีลธรรมเป็นที่เพิ่ง ตามเปิงฮีตบ้านปางเค้าเก่ามา
ไผมีงานหนักหนาให้หาทางซดซ่อย บรรดาลูกหลานส่ำน้อยดีใจล้ำอุ่นทรวงฯ
อันปู่ย่านั้นหากฮักลูกหลานดั่งเดียวหลาย ทั้งตายายก็ฮักลูกหลานหลายดั่งเดียวกันนั้น
ลูกหลานเกิดทุกข์ยากไฮ้ได้เพิ่งใบบุญ คุณของปู่ย่าตายายหากมีหลายเหลือล้น
ควรที่ลูกหลานทุกคนไหว้บูชายอยิ่ง เปรียบเป็นสิ่งสูงยกไว้ถวยเจ้ายอดคุณ
บุญเฮาหลายแท้ที่มีตายายปู่ย่า เพราะว่าเพิ่นเป็นฮ่มให้เฮาซ้นอยู่เย็น ฯ
แม้แต่ผู้ที่ไม่ใช่ญาติตนเองก็ยังมีความนับถือกัน ซึ่งจะมีทั้งคนที่มีคุณธรรมในชุมชนของตนเองก็ยังได้รับการเคารพ โดยถือกันว่าเป็นแนวทางของการปฏิบัติต่อท่านผู้สูงอายุ ธรรมเนียมของชาวอีสานมักจะเคารพผู้อาวุโสในด้านต่างๆอาจเป็นด้วยวัยวุฒิ คุณวุฒิ และชาติวุฒิเป็นต้น ดังนั้นคนเฒ่าคนแก่จะควรเป็นแบบอย่างให้แก่ลูกหลานทั้งในด้ายความประพฤติและด้านจิตใจ ดังคำโบราณอีสานว่า
เป็นผู้เฒ่าให้ฮักลูกหลานเหลน เป็นขุนกวนให้ฮักการเมืองบ้าน
สมสถานเบื้องเฮิงฮมย์ถ้วนทั่ว อย่าได้ฮักผิ่งพุ้นซังพี้บ่ดี
อันว่าเฒ่าบังเกิดสามขานั้นฤา หมายถึงคนวัยสูงผู้ควรถือหน้า
ย้อนว่าเอาตนเข้าถือศีลฟังเทศน์ เถิงกับสักค้อนเท้าไปด้วยใส่ใจ
ชาติที่เฒ่าบ่ฮู้วัตรคลองธรรม ปาปังแถมซู่วันเวียนมื้อ
เถิงว่าวัยชราเฒ่าหัวข่าวแข้วหล่อน อายุฮ้อนขวบเข้าบ่มิผู้นับถือ แท้แหล่ว
๓.๒.๓.๓. สามีและภรรยา
ภรรยาคือชื่อว่าเป็นช้างท้าวหลังธรรมเนียมชาวอีสานเรียกว่าธรรมเนียมของภรรย169 เป็นการสอนในการครองเรือนให้มีความสุขที่เป็นข้อปฏิบัติสำหรับสามีภรรยาที่ต้องมีความรักใคร่ต่อกัน การประพฤติหลักของอีตผัวคองเมียนี้นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะธรรมดาทัศนะคติของคนสองคนที่มาเป็นคู่ครองกันนั้นย่อมแตกต่างกันไปตามอุปนิสัยบางคนแข็งกระด้างบ้างคนอ่อนน้อม ดังนั้นปราชญ์อีสานจึงสอนว่าการเป็นสามีภรรยากันนั้นมันง่ายแต่จะครองรักอย่างไรจึงจะมีความสุขได้ ตามความเชื่อของคนไทยโบราณสอนว่าสามีเป็นช้างเท้าหน้าภรรยาเป็นช้างเท้าหลัง เพราะสมัยโบราณนั้นผู้หญิงก็มีความเชื่อเช่นนั้นเป็นทุนอยู่เดิมเหมือนกันดังจะเห็นได้จากวรรณกรรมของอีสานทุกเรื่องจะอบรมสั่งสอนลูกหญิงให้เชื่อฟังผู้เป็นสามีแต่ฝ่ายเดียว อาจเป็นด้วยเหตุก็ได้ที่ทำให้หญิงไทยชาวอีสานเป็นช้างเท้าหลังตลอดมา แต่ในภาวะทุกวันนี้ทัศนะให้เรื่องเหล่านี้เริ่มเสื่อมลงไปตามภาวะเศรษฐกิจและบ้านเมืองที่เจริญมากขึ้นสิทธิสตรีก็เสมอกับชายทุกประการ แต่ถึงกระนั้นก็ตามหญิงก็คือหญิง สุภาษิตอีสานจะสอนให้ผัวเมียได้รู้จักปรับตัวเองให้เข้ากับสถานภาพของตน คือเมื่อเป็นสามีภรรยากันจะต้องรู้จักให้เกียรติกัน เคารพญาติทั้งสองฝ่าย ให้มีความขยันมั่นเพียรในการทำมาหากิน ให้รักเดียวใจเดียวชื่อสัตย์ต่อกัน ดังคำกลอนสุภาษิตโบราณอีสานสอนในเรื่องหน้าที่ของภรรยาไว้ ๕ ประการว่า
๑) กิจการบ้านให้ทางเมียเป็นใหญ่ให้เมียเป็นแม่บ้านการสร้างซ่อยผัว
๒) ให้มีจาจาเว้าแถลงนัวเว้าม่วนอย่าได้ซึมซากฮ่ายคำเข้มเสียดสี
๓)ให้เมียเคารพชาติเชื้อสกุลฝ่ายทางผัวอันว่าญาติกาวงศ์วานทางฝ่ายผัวให้ค่อยยำเกรงย้าน
๔) ให้ฮู้จักทำการเกื้อบริวารเว้าม้วนสงเคราะห์ญาติพี่น้องเสมอก้ำเกิ่งกัน
๕) สินสมสร้างศฤงคารทรัพย์สิ่งผัวมอบให้เมียฮู้ฮ่อมสงวน
แม่ศรีเรือนตามที่ปรากฏในคำสอนชาวอีสานนั้นยังมีอีกนัยหนึ่งคือการใช้จ่ายทรัพย์ที่สามีหามาได้นั้นจะต้องคิดถึงความคุ่มค่าของสิ่งที่จะชื่อให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัวมากที่สุด ดังคำสอนที่ว่า
ควรที่จับจ่ายซื่อของจำเป็นสมค่าอย่าได้จับจ่ายใช้หลายล้นสิ่งบ่ควร
คันแม่นทำถึกต้องคองผัวเมียโบราณแต่งจักลุลาภได้ชยะโชคเจริญศรี
สถาพรพูนผลซู่อันโฮมเฮ้าจักงอกงามเงยขึ้นอุดมผลสูงส่งเงินคำไหลหลั่งเข้า
เจริญขึ้นมั่งมีบริบูรณ์ศรีสุขทุกข์บ่เวินมาใก้ล
นอกจากนี้ยังมีข้อแนะนำสำหรับผู้เป็นศรีภรรยาที่พึ่งยึดถือปฏิบัติตนในการครองเรือน การจะครองเรือนให้มีความผาสุขได้นั้นจะต้องมีทั้งจรรยามารยาทอันดีงามต่างๆเข้ามาประกอบด้วยคือประกอบพร้อมทั้งทางกาย วาจา และน้ำใจของภรรยา ซึ่งจะพบมากในคำกลอนโบราณของอีสานที่มักจะสั่งสอนลูกสาวของตนที่จะแยกครอบครัวออกไปจากพ่อแม่ ซึ่งชาวอีสานเรียกว่าข้อวัตรปฏิบัติสำหรับผู้เป็นภรรยา ดังคำสอนนี้ คือ
แนวแม่หญิงนี้บ่มีผัวซ้อนนอนนำก็บ่อุ่นแม่หญิงซิตั้งอยู่ได้เป็นใหญ่ใสสกุลก็เพราะคุณของผัวคว่ามาแปลงสร้างแม่หญิงนี้ซิมีคนย้านนบนอบยำเกรงก็เพราะบุญของผัว แม่หญิงซิมีคนล้อมบริวารแหนแห่ ก็ย้อนผัวแท้ๆอย่าจาอ้างว่าโต ผัวหากโมโหฮ้ายใจไวเคียดง่าย ให้นางเอาดีเข้าใจเว้าอย่างแข็ง อย่าได้แปลงความส้มขมในให้ผัวขื่น ให้เอาดีขื่นไว้ใจเจ้าให้อ่อนหวาน อุปมาเปรียบได้ดั่งอ้อมันหากอ่อนตามลม ธรรมดาว่าอ้อลมมาบ่ห่อนโค่น เพราะว่ามันบ่ตั้งขันสู่ต่อลม คือดังสมเสลานัอยสอยวอยงามยิ่ง ก่อผัวซิฮักกล่อมกลิ้งแฝงผั้นบ่มาย เพราะนางเป็นคนดีได้ใจบุญสอนง่าย บ่เป็นคนบาปฮ้ายใจบ้าด่าผัว มีแต่ทำโตน้อมถนอมผัวโอนอ่อน บ่แสนงอนดีดดิ้นศีลห้าหมั่นถนอม หาแต่แนวมาล้อมศีลธรรมคำขอบ เว้านอบน้อมต่อผัวนั้นซู่วัน
นี้คือคุณสมบัติของสตรีชาวอีสานที่ปฏิบัติต่อสามีและบุคคลๆ ตลอดถึงมีความขยันและเอาใจใส่ในพระพุทธศาสนา และให้ตั้งมั่นอยู่ในศีลและธรรมพร้อมทั้งเป็นผู้มีจิตใจอันเป็นบุญเป็นกุศล นี้คือกุลสตรีตามทรรศนะของคำสอนอีสาน จะพบว่าเป็นยอดหญิงอย่างแท้จริง ถ้าทำได้อย่างนี้
๑.สามี
๑) ให้ผัวพาเมียสร้างนาสวนปลูกหว่านพาเมียเป็นแม่บ้านครองเย้าให้อยู่ดี
๒) ให้วาจาเว้าแถลงนัวเว้าม่วนอย่าได้ซึกซากฮ่ายคำเข้มเสียดสี
๓) ให้เคารพชาติเชื้อสกุลฝ่ายทางเมีย
๔) การละเล่นหวยโปเบี้ยถั่วทางนักเลงสุราพร่ำพร้อมอย่าวอนเว้าอ่าวหา
๕) สินสมสร้างศฤงคารทรัพย์สินมอบให้เมียเมี้ยน(เก็บรักษา)ไว้ในย้าวจั่งแม่นคอง
(ให้สามีพาภรรยาทำไร่ทำนาปลูกผักและนำพาเมียเป็นแม่บ้านที่ ให้พูดจากันด้วยความไพเราะอย่าได้พูดจาเสียดสีกันเอง ให้เคารพตระกุลหรือญาติฝ่ายทางภรรยา และให้หลีกหนีทางฉิบหายคือการเล่นหวย ไฮ่โล โปถั่วกระทั้งนักเลงสุราอย่าได้เข้าใกล้มันเลย อีกทั้งทรัพย์สมบัติทั้งปวงที่หามาให้มอบให้ภรรยาเป็นผู้ดูแล) ดังนั้นวัตรปฏิบัติที่สามีหรือลูกผู้ชายคือทำนั้น คนโบราณอีสานมักสอนไว้ดังนี้คือ
ขอให้เจ้าตื่นเดิกไปไฮ่ก่อนกา ขอให้เจ้าตื่นเดิกไปนาก่อนไก่
ให้เจ้าไปจับฮั่วอ้อมบ่อนควายเลียม บ่าแบกเสียมทั้งไปยามส้อน
เลยเบิ่งต้อนเบิ่งหลี่เบิ่งไซ เห็นน้ำไหลคันนาให้ฮีบอัดเอาไว้
ปีใดแล้งย่อมได้กินข้าวปลา ให้เจ้ามีปัญญาคึดหาเครื่องปลูก
ทั้งส้มสูกกล้วยอ้อยของเจ้าซู่ยาม ตามดอนนาปลูกพริกหมากเขือน้ำเต้า
ทั้งหมากพร้าวมี้ม่วงตาล ส้มและหวานหมากพลูอย่าคร้าน
(ขอให้เจ้าตื่นแต่เช้าไปไร่ก่อนกา ขอให้เจ้าตื่นดึกไปนาก่อนไก่ ให้เจ้าไปทำรั่วล้อมไม่ให้ควายเข้าได้ทั้งบ่าเจ้าให้ถือเอาเสียมและไปกู้ต้อน(ที่ดักปลา) พร้อมทั้งดูต้อนและดูหลี่ ดูไซ เห็นน้ำไหลเข้าคันนาให้รีบปิดเอาไว้ ปีใดน้ำแล้งย่อมได้กินข้าวและปลา ให้เจ้ามีปัญญาคิดหาเครื่องปลูก ทั้งส้ม กล้วย อ้อยของเจ้าทุกเวลา ตามที่ตอนในนาให้ปลูกพริกและมะเขือและน้ำเต้า อีกทั้งมะพร้าว ขนุน มะม่วง และต้นตาล ทั้งเปรี้ยวและหวาน หมากพลูกอย่าเกลียดคร้าน) คำสอนนี้มุ่งเน้นให้ผู้ชายควรรู้จักขยันทำมาหากินเพื่อความมั่งคั่งของครอบครัว และยังสอนให้สามีควรรู้จักแสวงหาเครื่องมือในการประกอบอาชีพต่างๆ เช่น แห่ สุ่ม และเครื่องมือในการทำนา ดังคำสอนนี้คือ
คันเจ้าอยู่บ้านให้เบิ่งเฮือนซาน เบิ่งสถานปักตูป่องเอี้ยม
ให้เจ้าเยี่ยมเบิ่งข้อง แห มอง ทั้งสุ่ม ของซุมนี้แพงไว้เฮ็ดกิน
ฝนตกรินฮำย้อยอย่าถอนกลัวย่าน เถิงซิตกสาดพังฮองเข้าใส่โองไห
คาดไถแอกให้หลาไนมีทุกสิ่ง ทั้งสวิงกำพ้นฟืมพร้อมใส่กระส่วย
ของหมู่นี้ซิซ่อยให้มีอยู่มีกิน ผัวให้ยินดีหาอย่าไลลาค้าน
อันหนึ่งให้เจ้าค้าซื้อถึกขายแพง คึดล่ำแยงหาเงินใช้จ่าย
ขายหมากไม้แม่วัวโตควาย ทางใดซิรวยให้เจ้าคึดฮำดูเลิงถ้อนฯ
(ถ้าเจ้าอยู่บ้านให้ดูแลบ้านเรือนดูทุกอย่างทั้งประตูหน้าต่าง ให้เจ้าดูแลข้อง แห มอง ทั้งสุ่ม ของพวกนี้รักษาไว้ทำกิน เมื่อฝนตกรินอย่าเกรงกลัว ถ้าฝนตกมากให้รีบรองเอาไว้ใส่ตุ่ม ทั้งคาดไถแอก หลา ไน มีทุกอย่าง ทั้งสวิง กำพัน ฟืม กระส่วย (เครื่องอุปกรณ์ในการกอด้ายนำมาทอเป็นผ้า) สิ่งของเหล่านี้จะช่วยให้มีสิ่งของใช้ สามีให้ยินดีหามาอย่าได้ขี้เกลียด อีกอย่างหนึ่งให้เจ้าค้าขายด้วยการซื้อถูกขายแพง คิดให้ดีทางหาเงินมาใช้จ่าย มีขายผลไม้ วัว ควาย ทางไหนจะร่ำรวยให้เจ้าคิดพิจารณาให้รอบคอบ)
วัตรปฏิบัติสำหรับผู้เป็นสามี คือ
ขอให้เจ้าตื่นเดิกไปไฮ่ก่อนกา ขอให้เจ้าตื่นเดิกไปนาก่อนไก่
ให้เจ้าไปจับฮั่วอ้อมบ่อนควายเลียม บ่าแบกเสียมทั้งไปยามส้อน
เลยเบิ่งต้อนเบิ่งหลี่เบิ่งไซ เห็นน้ำไหลคันนาให้ฮีบอัดเอาไว้
ปีใดแล้งย่อมได้กินข้าวปลา ให้เจ้ามีปัญญคึดหาเครื่องปลูก
ทั้งส้มสูกกล้วยอ้อยของเจ้าซู่ยาม ตามดอนนาปลูกพริกหมากเขือน้ำเต้า
ทั้งหมากพร้าวมี้ม่วงตาวตาล ส้มและหวานหมากพลูอย่าคร้าน
๓.๒.๓.๔. มิตรและสหาย
การจะมีจะมีชีวิตที่เจริญก้าวหน้านั้นควรที่จะเลือกสรรหาแต่คนที่ดี เพื่อนำทางชีวิตของตนให้ไปในทางเจริงรุ่งเรืองและเว้นจากมิตรที่จะนำทางไปในทางเสื่อม นั้นคือความมีเพื่อนที่ดีควรเว้นเพื่อนที่เลว แม่แต่ในพุทธปรัชญาก็เน้นมากในเรื่องการเลือกคบกับบัณฑิต ดังคำผญาภาษิตอีสานว่า
อันหว่าบัณฑิตล้ำทรงธรรมทัดเที่ยง ก็หากหายากแท้ในพื้นแผ่นดินถ่านเอย
บาดหว่าคนซั่วฮ้ายหีนะโหดแนวพาล มันหากมีทั้งผองทั่วแผ่นดินแดนด้าว หน้า 31นุ่ม
ลักษณะทางร่างกายของคนก็มีส่วนสำคัญเช่นกันที่จะทำให้ทราบในเบื้องต้นว่าคนอย่างใดควรจะคบเป็นมิตรสหายได้ทรรศนะของปรัชญาอีสานได้กล่าวถึงนรลักษณ์ว่า “ตาบอดอย่าเอาฮ่วมเฮียน ตาเบียนอย่าเอาฮ่วมบ้าน ขี้คร้านอย่าเอาเป็นหมู่เป็นฝูง 1การคบคนเช่นใดย่อมจะแสดงพฤติกรรมไปตามบุคคลนั้น การสมาคมกับคนที่เป็นมิตรเทียมนั้นมักจะส่งผลในทางเสียหายมากกว่าดังสุภาษิตว่า “อย่าเกลือกกลั้วฝูงหมู่คนพาล มันสิพาเฮาตกต่ำตอยเป็นข้า2 การนับเอาสิ่งไม่ดีไปปูบนเรือนนั้นย่อมไม่งามเช่นเดียวกันกับการไม่จริงใจต่อเพื่อนก็ไม่เหมาะที่คบเช่นกัน ดังสุภาษิตว่า “เชื้อสาดคล้าอย่าได้ปูเฮือน คนตาเบือนอย่าเอาเป็นเพื่อนพ้อง มันสิเป็นล้องค้องคือเกี่ยวสองคม3 รูปแบบเป็นสิ่งจำเป็นยิ่งสำหรับคนเพราะคนจะดีหรือเลวนั้นมีส่วนหนึ่งเกิดจากการเรียนแบบมากจากบุคคลอื่น ปรัชญาอีสานได้สอนให้รู้จักเลือกแบบที่ดีงามและเว้นตัวอย่างที่ไม่ดีเสีย ดังคำสุภาษิตว่า “คนใจทรามอย่าเอาเป็นแบบ คนใจแคบอย่าได้เป็นฝูง คนใจสูงจั่งย่างนำก้น4 กรรมเท่านั้นที่ส่งผลมาให้ชีวิตมนุษย์เรามีรูปร่างหน้าตาที่ดีงามหรือขี่เหร่ ไม่มีใครเลือกได้แต่บางอย่างนั้นเมื่อเราไม่มีก็ควรหาสิ่งที่ตนเองขาดไปมาเพิ่มเติมให้เติมได้ ถ้าญาติไม่มีก็ควรหาเพื่อนมาทดแทนญาติพี่น้องได้ ดังสุภาษิตว่า “ผมบ่หลายให้เติ่มซ้อง พี่น้องบ่หลายให้ตื่มเสี่ยว5 มิตรมีความสำคัญยิ่งสำหรับเป็นพื้นฐานของชีวิตมนุษย์เรา เพราะมนุษย์นั้นเป็นสัตว์สังคมจะต้องพึ่งพาอาศัยกันและกัน ดังคำกลอนสอนว่า
อันนี้ขอให้หลาจื่อไว้จนกระดูกแขวนคอ อย่าได้วอวอเสียงลื่นคนทั้งหลาย
เห็นว่ามีสุขแล้วบ่เหลียวแลพวกเพื่อน คันแม่นสุขบ่ล้วนสิเหลียวหน้าเบิ่งไผ694
ຜຍາພາສິດ
ผญาภาษิต
เป็นคำสอนที่ให้คติธรรมอันลึกซึ้งแก่ชาวอีสานมาอย่างยาวนาน และเป็นคำสอนในลักษณะเปรียบเทียบ หรือให้ชี้ให้เห็นสัจจธรรมในการดำเนินชีวิต ผญาภาษิตอีสานมีรากฐานมาจากคำสอนในทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะพุทธศาสนสุภาษิตที่มีอิทพลต่อคำผญาภาษิตอีสานเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะคนอีสานนิยมสอนบุตรธิดาของตนโดยทางอ้อม ไม่ได้สอนโดยทางตรง เมื่อท่านจะสอนในเรื่องใดท่านมักจะผูกเป็นคำอุปมาอุปไมย โดยกล่าวถึงข้อเท็จจริงคือความเป็นอยู่และกิริยาอาการหรือความประพฤติของคนหรือสัตว์ ไม่ว่าในทางดีหรือทางชั่วอันเป็นไปในทางรูปธรรม เพื่อให้เกิดแง่คิดในทางนามธรรมเป็นข้อเปรียบเทียบกับรูปธรรม ผญาภาษิตนี้ส่วนมาจากคำสอนในหนังสือวรรณคดีเรื่องต่างๆ
สุภาษิตอีสานโดยภาพรวมจึงเกิดมาจากวรรณคดีทั้งทางศาสนาและประเพณีวัฒธรรมของชาวอีสานเป็นส่วนใหญ่ เพราะวรรณกรรมทางภาษาซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตน คือใช้วรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายเป็นสื่อในการสั่งสอนจริยธรรมตลอดถึงวิถีดำเนินชีวิต ตามความเชื่อและมีการตัดสินความดีความชั่วในสังคมด้วย ดังนั้นสุภาษิตอันเกิดจากวรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายจึงเป็นภาพสะท้อนถึงชีวิตคนและสังคมชาวอีสาน พอจะนำมากล่าวถึงมี ๔ ประการใหญ่ดังนี้ คือ
๒.๑.๒ ลักษณะของพุทธภาษิต
ลักษณะทั่วไปของพุทธศาสนสุภาษิตนั้นจัดแบ่งได้ ๒ ลักษณะ คือ ๑. ลักษณะทางฉันทลักษณ์ ๒. ลักษณะทางเนื้อหา
๑. ลักษณะทางฉันลักษณ์
เป็นคำร้อยกรองในภาษาบาลีเรียกว่า ฉันทลักษณะ เป็นคำประพันธ์ที่กำหนด ครุ ลหุ กำหนดจำนวนคำตามข้อบังคับของฉันท์แต่ละชนิด ฉันท์ ๑ บท เรียกว่า ๑ คาถา ฉันท์ ๑ คาถา มี ๔ บาท ฉันท์ ๑ บาทมี ๘ คำ ไม่เกิด ๑๑ คำ หรือ ๑๔ คำ ตามประเภทของฉันท์ นี้เป็นฉันท์ประเภทหนึ่งที่เรียนรู้และรู้จักกันเป็นอย่างดีในวงการภาษาบาลีในประเทศไทย ๖ ชนิด๕ คือ (๑ ) ปัฐยาวัตรฉันท์ (๒) อินทรวิเชียรฉันท์ (๓) อุเปนทรวิเชียรฉันท์ (๔) อินทรวงศ์ฉันท์ (๕) วังสัฏฐฉันท์ (๖) วสันตดิลกฉันท์
อีกนัยหนึ่งแบ่งตามลักษณะของวิธีการสอนของพระพุทธเจ้า ลักษณะเนื้อหาของพุทธภาษิต ผู้เชียวชาญทั้งหลายได้แบ่งเนื้อหาของสุภาษิตในพระพุทธศาสนาออกเป็นประเภทต่างๆ ตามลักษณะของรูปแบบคำสอนในพุทธศาสนาเรียกอีกอย่างว่า “นวังคสัตถุศาสตร์”๖ คือคำสอนของพระศาสดามีองค์ ๙ พุทธพจน์มีองค์ประกอบ ๙ อย่าง คือ
๑ ) สุตะ คือคำสั่งสอนที่เป็นพระสูตรและพระวินัย รวมทั้งคัมภีร์ทั้งสองด้วยโดยมีลักษณะเป็นสูตร ซึ่งประกอบไปด้วยระเบียบแบบแผนมีลำดับขั้นตอนต่างๆ อันมีข้อธรรมเป็นลักษณะคือ จากข้อหนึ่งถึงสิบข้อ
๒ ) เคยยะ คือ คำสอนที่เป็นลักษณะทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองผสมกัน ได้แก่พระสูตรที่มีคาถาทั้งหมด
๓ ) เวยยากรณะ (ไวยากรณ์) คือคำสอนเป็นแบบร้อยแก้วล้วนได้แก่พระอภิธรรมปิฏกทั้งหมด และพระสูตรที่ไม่มีคาถา
๔ ) คาถา คือ คำสอนแบบร้อยกรองล้วนๆ เช่น ธรรมบท, เถรคาถา, เถรีคาถา
๕ ) อุทาน คือ คำสอนที่เปล่งออกมาเป็นคำที่มีความหมายต่างๆตามสถานการณ์นั้นๆ เช่น สมัยเกิดความสังเวช , สมัยเกิดความปีติยินดีบ้าง ซึ่งเป็นพระคาถา ๘๒ สูตร
๖. ) อิติวุตตกะ เป็นเรื่อง อ้างอิง คือการยกมากล่าวอ้างของพระสังคีติกาจารย์ผู้รวบรวมโดยไม่บอกว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องเหล่านี้แก่ใคร ที่ไหนชื่อพระสูตรเหล่านี้มักขึ้นต้นด้วยคำว่า วุตตัง เหตัง ภควตา (พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดังนี้) เหมือนกันหมด จึงเรียกว่า อิติวุตตกะ แบ่งเป็น ๔ นิบาตมีทั้งหมด ๑๑๒ สูตร
๗ ) ชาดก คือ คำสอนที่กล่าวถึงเรื่องที่เกิดขึ้นมาแล้วในอดีตทั้งที่เป็นเรื่องราวในอดีตของพระพุทธเจ้าบ้าง สาวกบ้าง เป็นธรรมภาษิตในลักษณะการเล่านิทานธรรมอยู่ในเรื่อง ส่วนมากจะเป็นนิบาตชาดก
๘. ) อัพภูตธรรม คือคำสอนที่เป็นเรื่องราวอันน่าอัศจรรย์ใจหรือเรื่องปาฏิหาริย์
๙. ) เวทัลละ คือคำสอนที่สูงขึ้นไปตามลำดับ อาศัยการวิเคราะห์แยกแยะความหมายอย่างละเอียด เช่นพระอภิธรรมเป็นต้น
๒ ลักษณะทางเนื้อหา
เมื่อพิจารณาถึงเนื้อหาและความหมายของพุทธธรรมแล้วอาจแบ่งได้ ๒ ลักษณะด้วยกัน คือ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวงและสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอน
๒.๑ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวง
ตามนัยนี้ มีความหมายปกคลุมทุกสิ่งทุกอย่างในจักรวาล รวมทั้งสิ่งที่เป็น สังขตะและอสังขตะ ทั้งที่เป็นรูปและเป็นนาม ทั้งส่วนที่เป็นโลกีย์และโลกุตตร๑
สังขตธรรม ได้แก่สิ่งทั้งปวงที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ซึ่งอาจทราบได้ในลักษณะต่อไปนี้ “มีเกิดขึ้นในเบื้องต้น เปลี่ยนแปลงไปในท่ามกลางและแตกดับไปในที่สุด”๒ อสังขตธรรมนี้ได้แก่พระนิพพาน อันเป็นความดับทุกข์โดยเด็ดขาด ไม่มีเหตุไม่มีปัจจัยอะไรปรุงแต่งได้เลย แต่มีลักษณะให้ทราบได้ ๓ ประการ คือ “ไม่เกิดขึ้นปรากฏ ไม่ดับไปปรากฎ และขณะที่ดำรงอยู่ก็ไม่มีความเปลี่ยนแปลงปรากฏ” ๓
มีข้อที่ควรทราบอีกอย่างหนึ่งคือ สังขตธรรมนั้นหมายเอาทั้งโลกุตตรธรรม ๘ ประการ อันมีมรรค ๔ ผล ๔ ด้วย ส่วนอสังขตธรรมหมายเอาพระนิพพานอย่างเดียว ซึ่งก็จัดว่าเป็นโลกุตตรธรรมเหมือนกัน ในพุทธศาสนาได้กล่าวถึงลักษณะของสิ่งทั้งปวงไว้หลายอย่าง เช่น ธรรมตา, ธรรมธาตุ, ธรรมฐิติตา, ธรรมนิยามตา, ซึ่งแต่ละคำก็เป็นเครื่องแสดงให้เห็นว่า พุทธธรรมะคือสิ่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ด้วยตัวเอง มีความถูกต้องและเป็นอิสระในตัวเองโดยสมบูรณ์ มันเป็นกฎของจักรวาลหรือเป็นกฎเกณฑ์อันหนึ่งของธรรมชาติ ซึ่งคงอยู่ชั่วนิรันด์และมิไดถูกสร้างขึ้นใหม่ เป็นสภาพที่มีอยู่อย่างนั้น พระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตาม มิได้ทรงอุบัติก็ตาม สภาวะที่เรียกว่า ธรรมะ นั้น ก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้เปลี่ยนแปลงอย่างอื่น ดังพุทธพจน์ตรัสว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งป่วงเป็นอนัตตา”๔
ทั้ง ๓ ลักษณะนี้เรียกว่ากฎของธรรมดาหรือธรรมชาติ ข้อหนึ่งและสองใช้กล่าวถึงธรรมชาติของสังขตธรรม คือธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ส่วนข้อสุดท้ายใช้กล่าวถึงธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตานั้นใช้กล่าวถึงทั้งสังขตธรรมและอสังขตธรรม ดังพุทธพจน์ที่มาในคัมภีร์อังคุตตรนิกาย เป็นหลักฐานยืนยันข้อความข้างบนนั้นได้เป็นอย่างดีคือ
“ตถาคตเจ้าจะอุบัติขึ้นก็ตาม จะไม่อุบัติขึ้นก็ตามธรรมเหล่านี้ก็คงอยู่อย่านั้น ตั้งอยู่อย่างนั้น และเป็นอยู่อย่างนั้น คือสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ธรรมเหล่านี้ตถาคตได้รู้แจ้งแทงตลอดด้วยตนเองแล้วจึงได้นำมาประกาศแก่คนอื่น”
ได้ความว่าทั้งสังขตธรรมและสังขตธรรมที่กล่าวมานั้นรวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงอันเป็นสภาวะที่มีอยู่เดิม และคงอยู่อย่างนั้นพระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตามไม่ทรงอุบัติขึ้นก็ตาม จะรู้หรือไม่รู้ก็ตาม สภาวะนั้นก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้ถูกสร้างขึ้นมิได้ถูกทำลายโดยผู้ใดผู้หนึ่ง พระพุทธเจ้ามิได้เป็นผู้สร้างขึ้น เป็นเพียงผู้ค้นพบแล้วนำมาสอนคนอื่นเท่านั้นดังพุทธพจน์ว่า “พวกเธอจงพยายามทำความเพียรบากบั่นเองเถิด เราตถาคตเป็น แต่ผู้บอกแนวทางให้เท่านั้น”๕
๒.๒.ลักษณะที่เป็นคำสอน
ลักษณะคำสอนนี้ก็รวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงนั้นเอง พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอย่างไรหรือมีอะไรที่พระพุทธองค์ทรงสอน และมีสิ่งใดที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงสั่งสอน พระพุทธเจ้าทรงรู้ทุกสิ่งทุกอย่างจึงมีพระนามว่า สัพพัญญู แต่พระองค์มิได้ทรงสอนทุกอย่างที่พระองค์ตรัสรู้ ทรงสั่งสอนเฉพาะสิ่งที่จำเป็นในการปฏิบัติ เพื่อความพ้นทุกข์เท่านั้น
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหมดรวมอยู่ในคำว่า ธรรมหรือคำว่าศาสนาซึ่งหมายเอาทั้งปริยัติ (ทฤษฎี)และปฏิบัติ และปฏิเวธคือการรู้แจ้งแทงตลอดด้วย จะเห็นได้ว่าพุทธภาษิตนั้นเป็นคติเตือนใจของพุทธศาสนิกชนได้ จนบางครั้งสามารถเป็นกำลังใจและสามารถมีผลทำให้คนหยุดกระทำความชั่วได้นอกจากนั้นสุภาษิตก็ยังได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็นพระธรรมวินัย เป็นที่พึ่งแทนพระองค์สมดังพุทธวจนะมาในมหาปรินิพพานสูตรความว่า
“อานนท์ พวกเธอทั้งหลายอาจจะคิดว่า พระธรรมวินัยมีพระศาสดาล่วงลับไปแล้ว พระศาสดาของพวกเราไม่มีแล้ว, อานนท์ พวกเธอทั้งหลายไม่ควรเข้าใจอย่างนั้นแล้ว สำหรับพวกเธอทั้งหลายนั่นแล จักเป็นศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย ในเมื่อเราตถาคตล่วงลับไปแล้ว”๖
พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรมแก่ประชาชนด้วยวิธี ๓ อย่างด้วยกัน และวิธีการทั้ง ๓ นี้ถือว่าเป็นหลักการสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งมีข้อดังนี้๗
๑) พระองค์ทรงสั่งสอนเพื่อให้ผู้ฟังรู้ยิ่งเห็นจริงในธรรมที่ควรรู้ควรเห็น
๒) ทรงสั่งสอนมีเหตุผลที่ผู้ฟังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้
๓) ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์คือผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่การปฏิบัติ
อีกนัยหนึ่งเนื้อหาสาระแห่งพระโอวาทที่พระองค์ทรงประทานแก่พุทธบริษัทเสมอๆนั้น ประมวลลงในหลักการ ๓ อย่างคือ๘
๑ ) สั่งสอนให้เว้นจากการทำบาปทั้งปวง ทุจริต
๒) สั่งสอนให้ทำกุศลทั้งปวง
๓) ทำจิตให้ผ่องแผ้ว
ในคัมภีร์ทีฆนิกายกล่าวยืนยันถึงสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธปัญหาทางอภิปรัชญา ๑๐ ประการเรียกว่า อพยากตปัญหาหรือปัญหาโลกแตก แต่พระองค์ทรงตรัสสอนอริยสัจ ๔ ประการเป็นคำสอนของพระองค์ คือ เรื่องทุกข์ เหตุให้ทุกข์เกิด ความดับทุกข์ และทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์เป็นคำสอนของเราตถาคต โปฏฐปาทะทูลถามต่อไปอีกว่าเพราะเหตุใดพระองค์จึงทรงสอนสิ่งเหล่านี้ พระพุทธเจ้าทรงตรัสอรรถาธิบายต่อไปอีกความว่า
“ที่เราสอนเรื่องนี้ เพราะมันเป็นประโยชน์ เป็นความจริง เป็นวิถีแห่งชีวิตอันประเสริฐ ไม่ติดอยู่ในโลก เป็นไปเพื่อดับตัณหา เป็นไปเพื่อความสงบระงับใจ เป็นไปเพื่อความรู้แจ้งเห็นจริง และเป็นไปเพื่อพระนิพพาน ดังนั้นเราจึงได้นำมาสอนแก่สาวกทั้งหลาย”๙
จากพุทธพจน์นี้ชี้ให้เห็นว่า อริยสัจ ๔ เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือเป็นคำสอนที่พระองค์ทรงเน้นให้เห็นถึงปัณหาชีวิตในปัจจุบันที่มนุษย์ทุกรูปทุกนามประสบอยู่สิ่งนั้นคือ ทุกข์ พระพุทธเจ้าทรงเห็นว่า ชีวิตเต็มไปด้วยทุกข์ในบางครั้งที่รู้สึกว่าเป็นสุขนั้นเป็นเพียงความหลงเท่านั้น ที่แท้แล้วสิ่งที่เรียกว่าสุขนั้น ก็คือความทุกข์นั้นเอง ทุกข์ดังกล่าวนี้เกิดมาจากตัณหา เมื่อไม่มีตัณหาก็ไม่มีทุกข์อีกต่อไป พุทธภาษิตแล้วมีลักษณะทางคำสอนดังนี้คือ
๑ )หลักคำสอนในพุทธศาสนา เป็นหลักธรรมทางเสรีภาพที่เก่าแก่ที่สุดในโลก มีหลักการและวิธีการอันไม่ประกอบด้วยกาลเวลา เมื่อบุคคลประพฤติปฏิบัติตามย่อมได้ผลทันตา
๒ ) พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนให้เลิกละความเป็นทาสภายในใจตนเองนั้นคือ โลภะ โทสะ โมหะ
๓.) พุทธองค์ทรงสอนให้มนุษย์ทั้งปวงอยู่กันด้วยความมีเสรีภาพไม่เบียดเบียนกัน ให้เลิกดูหมิ่นกัน เพราะถือชาติ วรรณะ โคตร โดยมองให้เห็นว่าเป็นแก่นสารแห่งชีวิต แต่กลับสอนให้มนุษย์มองถึงฝ่ายใน คือความมีศีลธรรมเป็นเกณฑ์ในการตัดสิ้นคนดีหรือชั่ว
๔.) หลักคำสอนของพระพุทธเจ้าสั่งสอนให้มนุษย์รู้จักการเสียสละ การเว้นการฆ่าสัตว์ตลอดถึงการทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน พุทธภาษิตเน้นวิธีการให้เกิดความสังคมสงเคราะห์ แทนการเอาเปรียบกันและกัน และสอนให้หันมาชำระจิตใจให้บริสุทธิ์สะอาดแทนซึ่งเป็นการทำบุญที่สูงสุด
๕ ) พุทธพุทธเจ้ามุ่งสั่งสอนวิธีตรงเข้าหาความจริงและให้รู้จักกับความเป็นจริงของชีวิต โดยมองว่าชีวิตมนุษย์มีความเกิดแก่เจ็บตาย เป็นกฎแห่งพระไตรลักษณ์ รวมทั้งสอนให้รู้จักดำเนินชีวิตให้ตรงไปตรงมาไม่ควรเชื้อเรื่องฤกษ์ยาม น้ำศักดิ์สิทธิ์ แต่กับสอนให้รู้จักทำช่วยตนเองเป็นหลักสำคัญ และสอนให้มนุษย์เข้าใจถึงการเกิดในภพต่างๆ เพราะแรงแห่งตัณหาเป็นปัจจัย
๖.) พุทธภาษิต เป็นวิธีการสอนให้แก้ความเสื่อมทางศีลธรรม โดยไม่มองข้ามปัญหาทางเศรษฐกิจ สอนให้แก้ความชั่วด้วยความความดี สอนให้แก้ที่ตัวเราเองก่อน โดยไม่คอยเกี่ยงให้คนทั้งโลกดีหมดแล้วจึงจะดีเป็นคนสุดท้าย
๗ ) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์ตระหนักถึงเรื่องของสติปัญญาในการดำเนินชีวิต โดยให้ใช้ความรอบคอบในการแก้ไขปัญหา ด้วยการพิจารณาให้เห็นสาเหตุแห่งทุกข์ แล้วแก้ไขให้ตรงจุด ไม่ให้เชื้ออย่างงายไร้เหตุผล
๘ ) พุทธภาษิตมุ่งเน้นให้มนุษย์ยึดถือธรรมเป็นใหญ่ เรียกว่าธรรมาธิปไตย ไม่ให้ยึดถือตนเป็นสำคัญ และให้ถือการปฏิบัติเป็นสำคัญในการบูชา
๙.) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์พยายามพึ่งตนเอง และฝึกฝนตนเองมากกว่าพึงพาผู้อื่น เพื่อยกระดับชีวิตตนเองให้ก้าวหน้า ไม่สอนให้รอการอ้อนวอนบวงสรวงจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และยึดหลักว่ามนุษย์มีกรรมเป็นของๆตน ด้วยการทำดีได้ดีนั้นเอง
๑๐ ) พุทธภาษิตพยายามไม่สอนให้พุทธบริษัทอย่าเชื้อถือสิ่งได้ด้วยการเด่า แต่ให้เชื่อหลักของพุทธศาสนาที่มีหลักการดีกว่า
๑๑ ) พุทธภาษิตเสนอหลักการให้มนุษย์ทำความดีงามเพราะเห็นแก่ความดี ไม่ทำความดีเพื่อมุ่งลาภ ยศ สรรเสริญ และพุทธศาสนาก็มีหลักการที่พิสูจน์ได้ทุกสมัย
๑๒ ) พุทธภาษิตต้องการให้มีความขยันหมั่นเพียร ไม่เกียจคร้าน ยิ่งเป็นฆราวาสย่อมต้องใช้หลักธรรมนี้ให้มาก เพราะการครองเรือนที่มีความสุขได้ต้องมีทรัพย์เป็นเครื่องค้ำจุน จึงจะตั้งตัวได้ดี
๑๓ ) พุทธภาษิตต้องการให้เอาชนะความชั่วด้วยความดี ให้ระงับการจองเวรต่อกัน และอย่าได้ก่อความวุ่นวายให้แก่ผู้อื่น ให้รู้จักการผูกไมตรีต่อกัน โดยการเอื้อเพื้อเผือแผ่แก่กันและกันคือสละสุขส่วนตนเพื่อประโยชน์สุขแก่มหาชน สละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ สละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิตและสุดท้ายก็สละชีวิตเพื่อรักษาธรรม
๑๔ ) พุทธภาษิตต้องการสอนให้มนุษย์มีความอดทน ต่อสู้กับความลำบากต่างๆเพื่อเอาชนะอุปสรรคทั้งหลาย ไม่เป็นคนอ่อนแอ และขณะเดียวเมื่อมีความสุขก็อย่าได้หลง ให้ตั้งตนอยู่ในความไม่ประมาท ชีวิตจึงจะพบกับความสุข ดังนั้นพุทธภาษิตก็ยังพยายามให้คนรู้จักรักษากายวาจาและใจของตนให้เป็นปกติ
๑๕ ) พุทธภาษิตต้องการเสื่อให้เห็นหลักการปกครองที่เป็นธรรม โดยยึดหลักความละอายต่อความบาป และความชั่วทั้งหลาย ทั้งผู้นำรัฐและผู้ปกครองในระดับท้องถิ่นควรมีหลักธรรมอย่างนี้ พุทธศาสนาสอนให้รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น อย่าดูหมิ่นผู้อื่นเพราะชาติตระกูล เพราะทรัพย์ และอย่ามีอคติต่อกัน เจ้านายก็ให้รู้จักใช้บ่าว ตลอดถึงการรู้จักเลือกคบกับมิตรที่ดี เว้นบาปมิตร
๑๖ ) พุทธภาษิตสอนให้ใช้ปัญญานำหน้าในการดำเนินชีวิต และสอนให้รู้จักการศึกษา เข้าหาผู้เป็นบัณฑิต และเว้นพาลชน เพื่อความก้าวหน้าแห่งตน และสอนให้รู้จักแบ่งปันกันเพื่อความผาสุขแห่งสังคม และอย่าได้ก่อศัตรูขึ้นมาโดยถือว่ามนุษย์ทุกคนไม่มีดีที่สมบูรณ์ แต่ให้มองหาความดีของผู้อื่น และสอนให้มองดูธรรมชาติโดยความเป็นจริง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงจะได้ไม่เป็นทุกข์ และต้องพยายามเดินตามแนวทางสายกลางย่อมเป็นประตนและผู้อื่นตลอดถึงประโยชน์สูงสุดคือพระนิพพาน
๑๗. ) พุทธภาษิตสอนให้ยึดปรมัตถ์ประโยชน์ อย่าหลงในสิ่งอันเป็นสิ่งสมมติอันเป็นสิ่งบัญญัติ แต่ดูโดยรู้เท่าทัน พยายามใช้ปัญญาเป็นเครื่องส่องทางแห่งชีวิตตน พุทธภาษิตสอนให้รู้จักตอบแทนผู้มีพระคุณว่าเป็นสิ่งมงคล และสอนให้รู้จักหลักการดำเนินไปสู่พระนิพพาน ว่าเป็นยอดแห่งความสุข
เป็นคำสอนที่ให้คติธรรมอันลึกซึ้งแก่ชาวอีสานมาอย่างยาวนาน และเป็นคำสอนในลักษณะเปรียบเทียบ หรือให้ชี้ให้เห็นสัจจธรรมในการดำเนินชีวิต ผญาภาษิตอีสานมีรากฐานมาจากคำสอนในทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะพุทธศาสนสุภาษิตที่มีอิทพลต่อคำผญาภาษิตอีสานเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะคนอีสานนิยมสอนบุตรธิดาของตนโดยทางอ้อม ไม่ได้สอนโดยทางตรง เมื่อท่านจะสอนในเรื่องใดท่านมักจะผูกเป็นคำอุปมาอุปไมย โดยกล่าวถึงข้อเท็จจริงคือความเป็นอยู่และกิริยาอาการหรือความประพฤติของคนหรือสัตว์ ไม่ว่าในทางดีหรือทางชั่วอันเป็นไปในทางรูปธรรม เพื่อให้เกิดแง่คิดในทางนามธรรมเป็นข้อเปรียบเทียบกับรูปธรรม ผญาภาษิตนี้ส่วนมาจากคำสอนในหนังสือวรรณคดีเรื่องต่างๆ
สุภาษิตอีสานโดยภาพรวมจึงเกิดมาจากวรรณคดีทั้งทางศาสนาและประเพณีวัฒธรรมของชาวอีสานเป็นส่วนใหญ่ เพราะวรรณกรรมทางภาษาซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตน คือใช้วรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายเป็นสื่อในการสั่งสอนจริยธรรมตลอดถึงวิถีดำเนินชีวิต ตามความเชื่อและมีการตัดสินความดีความชั่วในสังคมด้วย ดังนั้นสุภาษิตอันเกิดจากวรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายจึงเป็นภาพสะท้อนถึงชีวิตคนและสังคมชาวอีสาน พอจะนำมากล่าวถึงมี ๔ ประการใหญ่ดังนี้ คือ
๒.๑.๒ ลักษณะของพุทธภาษิต
ลักษณะทั่วไปของพุทธศาสนสุภาษิตนั้นจัดแบ่งได้ ๒ ลักษณะ คือ ๑. ลักษณะทางฉันทลักษณ์ ๒. ลักษณะทางเนื้อหา
๑. ลักษณะทางฉันลักษณ์
เป็นคำร้อยกรองในภาษาบาลีเรียกว่า ฉันทลักษณะ เป็นคำประพันธ์ที่กำหนด ครุ ลหุ กำหนดจำนวนคำตามข้อบังคับของฉันท์แต่ละชนิด ฉันท์ ๑ บท เรียกว่า ๑ คาถา ฉันท์ ๑ คาถา มี ๔ บาท ฉันท์ ๑ บาทมี ๘ คำ ไม่เกิด ๑๑ คำ หรือ ๑๔ คำ ตามประเภทของฉันท์ นี้เป็นฉันท์ประเภทหนึ่งที่เรียนรู้และรู้จักกันเป็นอย่างดีในวงการภาษาบาลีในประเทศไทย ๖ ชนิด๕ คือ (๑ ) ปัฐยาวัตรฉันท์ (๒) อินทรวิเชียรฉันท์ (๓) อุเปนทรวิเชียรฉันท์ (๔) อินทรวงศ์ฉันท์ (๕) วังสัฏฐฉันท์ (๖) วสันตดิลกฉันท์
อีกนัยหนึ่งแบ่งตามลักษณะของวิธีการสอนของพระพุทธเจ้า ลักษณะเนื้อหาของพุทธภาษิต ผู้เชียวชาญทั้งหลายได้แบ่งเนื้อหาของสุภาษิตในพระพุทธศาสนาออกเป็นประเภทต่างๆ ตามลักษณะของรูปแบบคำสอนในพุทธศาสนาเรียกอีกอย่างว่า “นวังคสัตถุศาสตร์”๖ คือคำสอนของพระศาสดามีองค์ ๙ พุทธพจน์มีองค์ประกอบ ๙ อย่าง คือ
๑ ) สุตะ คือคำสั่งสอนที่เป็นพระสูตรและพระวินัย รวมทั้งคัมภีร์ทั้งสองด้วยโดยมีลักษณะเป็นสูตร ซึ่งประกอบไปด้วยระเบียบแบบแผนมีลำดับขั้นตอนต่างๆ อันมีข้อธรรมเป็นลักษณะคือ จากข้อหนึ่งถึงสิบข้อ
๒ ) เคยยะ คือ คำสอนที่เป็นลักษณะทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองผสมกัน ได้แก่พระสูตรที่มีคาถาทั้งหมด
๓ ) เวยยากรณะ (ไวยากรณ์) คือคำสอนเป็นแบบร้อยแก้วล้วนได้แก่พระอภิธรรมปิฏกทั้งหมด และพระสูตรที่ไม่มีคาถา
๔ ) คาถา คือ คำสอนแบบร้อยกรองล้วนๆ เช่น ธรรมบท, เถรคาถา, เถรีคาถา
๕ ) อุทาน คือ คำสอนที่เปล่งออกมาเป็นคำที่มีความหมายต่างๆตามสถานการณ์นั้นๆ เช่น สมัยเกิดความสังเวช , สมัยเกิดความปีติยินดีบ้าง ซึ่งเป็นพระคาถา ๘๒ สูตร
๖. ) อิติวุตตกะ เป็นเรื่อง อ้างอิง คือการยกมากล่าวอ้างของพระสังคีติกาจารย์ผู้รวบรวมโดยไม่บอกว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องเหล่านี้แก่ใคร ที่ไหนชื่อพระสูตรเหล่านี้มักขึ้นต้นด้วยคำว่า วุตตัง เหตัง ภควตา (พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดังนี้) เหมือนกันหมด จึงเรียกว่า อิติวุตตกะ แบ่งเป็น ๔ นิบาตมีทั้งหมด ๑๑๒ สูตร
๗ ) ชาดก คือ คำสอนที่กล่าวถึงเรื่องที่เกิดขึ้นมาแล้วในอดีตทั้งที่เป็นเรื่องราวในอดีตของพระพุทธเจ้าบ้าง สาวกบ้าง เป็นธรรมภาษิตในลักษณะการเล่านิทานธรรมอยู่ในเรื่อง ส่วนมากจะเป็นนิบาตชาดก
๘. ) อัพภูตธรรม คือคำสอนที่เป็นเรื่องราวอันน่าอัศจรรย์ใจหรือเรื่องปาฏิหาริย์
๙. ) เวทัลละ คือคำสอนที่สูงขึ้นไปตามลำดับ อาศัยการวิเคราะห์แยกแยะความหมายอย่างละเอียด เช่นพระอภิธรรมเป็นต้น
๒ ลักษณะทางเนื้อหา
เมื่อพิจารณาถึงเนื้อหาและความหมายของพุทธธรรมแล้วอาจแบ่งได้ ๒ ลักษณะด้วยกัน คือ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวงและสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอน
๒.๑ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวง
ตามนัยนี้ มีความหมายปกคลุมทุกสิ่งทุกอย่างในจักรวาล รวมทั้งสิ่งที่เป็น สังขตะและอสังขตะ ทั้งที่เป็นรูปและเป็นนาม ทั้งส่วนที่เป็นโลกีย์และโลกุตตร๑
สังขตธรรม ได้แก่สิ่งทั้งปวงที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ซึ่งอาจทราบได้ในลักษณะต่อไปนี้ “มีเกิดขึ้นในเบื้องต้น เปลี่ยนแปลงไปในท่ามกลางและแตกดับไปในที่สุด”๒ อสังขตธรรมนี้ได้แก่พระนิพพาน อันเป็นความดับทุกข์โดยเด็ดขาด ไม่มีเหตุไม่มีปัจจัยอะไรปรุงแต่งได้เลย แต่มีลักษณะให้ทราบได้ ๓ ประการ คือ “ไม่เกิดขึ้นปรากฏ ไม่ดับไปปรากฎ และขณะที่ดำรงอยู่ก็ไม่มีความเปลี่ยนแปลงปรากฏ” ๓
มีข้อที่ควรทราบอีกอย่างหนึ่งคือ สังขตธรรมนั้นหมายเอาทั้งโลกุตตรธรรม ๘ ประการ อันมีมรรค ๔ ผล ๔ ด้วย ส่วนอสังขตธรรมหมายเอาพระนิพพานอย่างเดียว ซึ่งก็จัดว่าเป็นโลกุตตรธรรมเหมือนกัน ในพุทธศาสนาได้กล่าวถึงลักษณะของสิ่งทั้งปวงไว้หลายอย่าง เช่น ธรรมตา, ธรรมธาตุ, ธรรมฐิติตา, ธรรมนิยามตา, ซึ่งแต่ละคำก็เป็นเครื่องแสดงให้เห็นว่า พุทธธรรมะคือสิ่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ด้วยตัวเอง มีความถูกต้องและเป็นอิสระในตัวเองโดยสมบูรณ์ มันเป็นกฎของจักรวาลหรือเป็นกฎเกณฑ์อันหนึ่งของธรรมชาติ ซึ่งคงอยู่ชั่วนิรันด์และมิไดถูกสร้างขึ้นใหม่ เป็นสภาพที่มีอยู่อย่างนั้น พระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตาม มิได้ทรงอุบัติก็ตาม สภาวะที่เรียกว่า ธรรมะ นั้น ก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้เปลี่ยนแปลงอย่างอื่น ดังพุทธพจน์ตรัสว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งป่วงเป็นอนัตตา”๔
ทั้ง ๓ ลักษณะนี้เรียกว่ากฎของธรรมดาหรือธรรมชาติ ข้อหนึ่งและสองใช้กล่าวถึงธรรมชาติของสังขตธรรม คือธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ส่วนข้อสุดท้ายใช้กล่าวถึงธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตานั้นใช้กล่าวถึงทั้งสังขตธรรมและอสังขตธรรม ดังพุทธพจน์ที่มาในคัมภีร์อังคุตตรนิกาย เป็นหลักฐานยืนยันข้อความข้างบนนั้นได้เป็นอย่างดีคือ
“ตถาคตเจ้าจะอุบัติขึ้นก็ตาม จะไม่อุบัติขึ้นก็ตามธรรมเหล่านี้ก็คงอยู่อย่านั้น ตั้งอยู่อย่างนั้น และเป็นอยู่อย่างนั้น คือสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ธรรมเหล่านี้ตถาคตได้รู้แจ้งแทงตลอดด้วยตนเองแล้วจึงได้นำมาประกาศแก่คนอื่น”
ได้ความว่าทั้งสังขตธรรมและสังขตธรรมที่กล่าวมานั้นรวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงอันเป็นสภาวะที่มีอยู่เดิม และคงอยู่อย่างนั้นพระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตามไม่ทรงอุบัติขึ้นก็ตาม จะรู้หรือไม่รู้ก็ตาม สภาวะนั้นก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้ถูกสร้างขึ้นมิได้ถูกทำลายโดยผู้ใดผู้หนึ่ง พระพุทธเจ้ามิได้เป็นผู้สร้างขึ้น เป็นเพียงผู้ค้นพบแล้วนำมาสอนคนอื่นเท่านั้นดังพุทธพจน์ว่า “พวกเธอจงพยายามทำความเพียรบากบั่นเองเถิด เราตถาคตเป็น แต่ผู้บอกแนวทางให้เท่านั้น”๕
๒.๒.ลักษณะที่เป็นคำสอน
ลักษณะคำสอนนี้ก็รวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงนั้นเอง พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอย่างไรหรือมีอะไรที่พระพุทธองค์ทรงสอน และมีสิ่งใดที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงสั่งสอน พระพุทธเจ้าทรงรู้ทุกสิ่งทุกอย่างจึงมีพระนามว่า สัพพัญญู แต่พระองค์มิได้ทรงสอนทุกอย่างที่พระองค์ตรัสรู้ ทรงสั่งสอนเฉพาะสิ่งที่จำเป็นในการปฏิบัติ เพื่อความพ้นทุกข์เท่านั้น
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหมดรวมอยู่ในคำว่า ธรรมหรือคำว่าศาสนาซึ่งหมายเอาทั้งปริยัติ (ทฤษฎี)และปฏิบัติ และปฏิเวธคือการรู้แจ้งแทงตลอดด้วย จะเห็นได้ว่าพุทธภาษิตนั้นเป็นคติเตือนใจของพุทธศาสนิกชนได้ จนบางครั้งสามารถเป็นกำลังใจและสามารถมีผลทำให้คนหยุดกระทำความชั่วได้นอกจากนั้นสุภาษิตก็ยังได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็นพระธรรมวินัย เป็นที่พึ่งแทนพระองค์สมดังพุทธวจนะมาในมหาปรินิพพานสูตรความว่า
“อานนท์ พวกเธอทั้งหลายอาจจะคิดว่า พระธรรมวินัยมีพระศาสดาล่วงลับไปแล้ว พระศาสดาของพวกเราไม่มีแล้ว, อานนท์ พวกเธอทั้งหลายไม่ควรเข้าใจอย่างนั้นแล้ว สำหรับพวกเธอทั้งหลายนั่นแล จักเป็นศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย ในเมื่อเราตถาคตล่วงลับไปแล้ว”๖
พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรมแก่ประชาชนด้วยวิธี ๓ อย่างด้วยกัน และวิธีการทั้ง ๓ นี้ถือว่าเป็นหลักการสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งมีข้อดังนี้๗
๑) พระองค์ทรงสั่งสอนเพื่อให้ผู้ฟังรู้ยิ่งเห็นจริงในธรรมที่ควรรู้ควรเห็น
๒) ทรงสั่งสอนมีเหตุผลที่ผู้ฟังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้
๓) ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์คือผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่การปฏิบัติ
อีกนัยหนึ่งเนื้อหาสาระแห่งพระโอวาทที่พระองค์ทรงประทานแก่พุทธบริษัทเสมอๆนั้น ประมวลลงในหลักการ ๓ อย่างคือ๘
๑ ) สั่งสอนให้เว้นจากการทำบาปทั้งปวง ทุจริต
๒) สั่งสอนให้ทำกุศลทั้งปวง
๓) ทำจิตให้ผ่องแผ้ว
ในคัมภีร์ทีฆนิกายกล่าวยืนยันถึงสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธปัญหาทางอภิปรัชญา ๑๐ ประการเรียกว่า อพยากตปัญหาหรือปัญหาโลกแตก แต่พระองค์ทรงตรัสสอนอริยสัจ ๔ ประการเป็นคำสอนของพระองค์ คือ เรื่องทุกข์ เหตุให้ทุกข์เกิด ความดับทุกข์ และทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์เป็นคำสอนของเราตถาคต โปฏฐปาทะทูลถามต่อไปอีกว่าเพราะเหตุใดพระองค์จึงทรงสอนสิ่งเหล่านี้ พระพุทธเจ้าทรงตรัสอรรถาธิบายต่อไปอีกความว่า
“ที่เราสอนเรื่องนี้ เพราะมันเป็นประโยชน์ เป็นความจริง เป็นวิถีแห่งชีวิตอันประเสริฐ ไม่ติดอยู่ในโลก เป็นไปเพื่อดับตัณหา เป็นไปเพื่อความสงบระงับใจ เป็นไปเพื่อความรู้แจ้งเห็นจริง และเป็นไปเพื่อพระนิพพาน ดังนั้นเราจึงได้นำมาสอนแก่สาวกทั้งหลาย”๙
จากพุทธพจน์นี้ชี้ให้เห็นว่า อริยสัจ ๔ เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือเป็นคำสอนที่พระองค์ทรงเน้นให้เห็นถึงปัณหาชีวิตในปัจจุบันที่มนุษย์ทุกรูปทุกนามประสบอยู่สิ่งนั้นคือ ทุกข์ พระพุทธเจ้าทรงเห็นว่า ชีวิตเต็มไปด้วยทุกข์ในบางครั้งที่รู้สึกว่าเป็นสุขนั้นเป็นเพียงความหลงเท่านั้น ที่แท้แล้วสิ่งที่เรียกว่าสุขนั้น ก็คือความทุกข์นั้นเอง ทุกข์ดังกล่าวนี้เกิดมาจากตัณหา เมื่อไม่มีตัณหาก็ไม่มีทุกข์อีกต่อไป พุทธภาษิตแล้วมีลักษณะทางคำสอนดังนี้คือ
๑ )หลักคำสอนในพุทธศาสนา เป็นหลักธรรมทางเสรีภาพที่เก่าแก่ที่สุดในโลก มีหลักการและวิธีการอันไม่ประกอบด้วยกาลเวลา เมื่อบุคคลประพฤติปฏิบัติตามย่อมได้ผลทันตา
๒ ) พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนให้เลิกละความเป็นทาสภายในใจตนเองนั้นคือ โลภะ โทสะ โมหะ
๓.) พุทธองค์ทรงสอนให้มนุษย์ทั้งปวงอยู่กันด้วยความมีเสรีภาพไม่เบียดเบียนกัน ให้เลิกดูหมิ่นกัน เพราะถือชาติ วรรณะ โคตร โดยมองให้เห็นว่าเป็นแก่นสารแห่งชีวิต แต่กลับสอนให้มนุษย์มองถึงฝ่ายใน คือความมีศีลธรรมเป็นเกณฑ์ในการตัดสิ้นคนดีหรือชั่ว
๔.) หลักคำสอนของพระพุทธเจ้าสั่งสอนให้มนุษย์รู้จักการเสียสละ การเว้นการฆ่าสัตว์ตลอดถึงการทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน พุทธภาษิตเน้นวิธีการให้เกิดความสังคมสงเคราะห์ แทนการเอาเปรียบกันและกัน และสอนให้หันมาชำระจิตใจให้บริสุทธิ์สะอาดแทนซึ่งเป็นการทำบุญที่สูงสุด
๕ ) พุทธพุทธเจ้ามุ่งสั่งสอนวิธีตรงเข้าหาความจริงและให้รู้จักกับความเป็นจริงของชีวิต โดยมองว่าชีวิตมนุษย์มีความเกิดแก่เจ็บตาย เป็นกฎแห่งพระไตรลักษณ์ รวมทั้งสอนให้รู้จักดำเนินชีวิตให้ตรงไปตรงมาไม่ควรเชื้อเรื่องฤกษ์ยาม น้ำศักดิ์สิทธิ์ แต่กับสอนให้รู้จักทำช่วยตนเองเป็นหลักสำคัญ และสอนให้มนุษย์เข้าใจถึงการเกิดในภพต่างๆ เพราะแรงแห่งตัณหาเป็นปัจจัย
๖.) พุทธภาษิต เป็นวิธีการสอนให้แก้ความเสื่อมทางศีลธรรม โดยไม่มองข้ามปัญหาทางเศรษฐกิจ สอนให้แก้ความชั่วด้วยความความดี สอนให้แก้ที่ตัวเราเองก่อน โดยไม่คอยเกี่ยงให้คนทั้งโลกดีหมดแล้วจึงจะดีเป็นคนสุดท้าย
๗ ) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์ตระหนักถึงเรื่องของสติปัญญาในการดำเนินชีวิต โดยให้ใช้ความรอบคอบในการแก้ไขปัญหา ด้วยการพิจารณาให้เห็นสาเหตุแห่งทุกข์ แล้วแก้ไขให้ตรงจุด ไม่ให้เชื้ออย่างงายไร้เหตุผล
๘ ) พุทธภาษิตมุ่งเน้นให้มนุษย์ยึดถือธรรมเป็นใหญ่ เรียกว่าธรรมาธิปไตย ไม่ให้ยึดถือตนเป็นสำคัญ และให้ถือการปฏิบัติเป็นสำคัญในการบูชา
๙.) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์พยายามพึ่งตนเอง และฝึกฝนตนเองมากกว่าพึงพาผู้อื่น เพื่อยกระดับชีวิตตนเองให้ก้าวหน้า ไม่สอนให้รอการอ้อนวอนบวงสรวงจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และยึดหลักว่ามนุษย์มีกรรมเป็นของๆตน ด้วยการทำดีได้ดีนั้นเอง
๑๐ ) พุทธภาษิตพยายามไม่สอนให้พุทธบริษัทอย่าเชื้อถือสิ่งได้ด้วยการเด่า แต่ให้เชื่อหลักของพุทธศาสนาที่มีหลักการดีกว่า
๑๑ ) พุทธภาษิตเสนอหลักการให้มนุษย์ทำความดีงามเพราะเห็นแก่ความดี ไม่ทำความดีเพื่อมุ่งลาภ ยศ สรรเสริญ และพุทธศาสนาก็มีหลักการที่พิสูจน์ได้ทุกสมัย
๑๒ ) พุทธภาษิตต้องการให้มีความขยันหมั่นเพียร ไม่เกียจคร้าน ยิ่งเป็นฆราวาสย่อมต้องใช้หลักธรรมนี้ให้มาก เพราะการครองเรือนที่มีความสุขได้ต้องมีทรัพย์เป็นเครื่องค้ำจุน จึงจะตั้งตัวได้ดี
๑๓ ) พุทธภาษิตต้องการให้เอาชนะความชั่วด้วยความดี ให้ระงับการจองเวรต่อกัน และอย่าได้ก่อความวุ่นวายให้แก่ผู้อื่น ให้รู้จักการผูกไมตรีต่อกัน โดยการเอื้อเพื้อเผือแผ่แก่กันและกันคือสละสุขส่วนตนเพื่อประโยชน์สุขแก่มหาชน สละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ สละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิตและสุดท้ายก็สละชีวิตเพื่อรักษาธรรม
๑๔ ) พุทธภาษิตต้องการสอนให้มนุษย์มีความอดทน ต่อสู้กับความลำบากต่างๆเพื่อเอาชนะอุปสรรคทั้งหลาย ไม่เป็นคนอ่อนแอ และขณะเดียวเมื่อมีความสุขก็อย่าได้หลง ให้ตั้งตนอยู่ในความไม่ประมาท ชีวิตจึงจะพบกับความสุข ดังนั้นพุทธภาษิตก็ยังพยายามให้คนรู้จักรักษากายวาจาและใจของตนให้เป็นปกติ
๑๕ ) พุทธภาษิตต้องการเสื่อให้เห็นหลักการปกครองที่เป็นธรรม โดยยึดหลักความละอายต่อความบาป และความชั่วทั้งหลาย ทั้งผู้นำรัฐและผู้ปกครองในระดับท้องถิ่นควรมีหลักธรรมอย่างนี้ พุทธศาสนาสอนให้รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น อย่าดูหมิ่นผู้อื่นเพราะชาติตระกูล เพราะทรัพย์ และอย่ามีอคติต่อกัน เจ้านายก็ให้รู้จักใช้บ่าว ตลอดถึงการรู้จักเลือกคบกับมิตรที่ดี เว้นบาปมิตร
๑๖ ) พุทธภาษิตสอนให้ใช้ปัญญานำหน้าในการดำเนินชีวิต และสอนให้รู้จักการศึกษา เข้าหาผู้เป็นบัณฑิต และเว้นพาลชน เพื่อความก้าวหน้าแห่งตน และสอนให้รู้จักแบ่งปันกันเพื่อความผาสุขแห่งสังคม และอย่าได้ก่อศัตรูขึ้นมาโดยถือว่ามนุษย์ทุกคนไม่มีดีที่สมบูรณ์ แต่ให้มองหาความดีของผู้อื่น และสอนให้มองดูธรรมชาติโดยความเป็นจริง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงจะได้ไม่เป็นทุกข์ และต้องพยายามเดินตามแนวทางสายกลางย่อมเป็นประตนและผู้อื่นตลอดถึงประโยชน์สูงสุดคือพระนิพพาน
๑๗. ) พุทธภาษิตสอนให้ยึดปรมัตถ์ประโยชน์ อย่าหลงในสิ่งอันเป็นสิ่งสมมติอันเป็นสิ่งบัญญัติ แต่ดูโดยรู้เท่าทัน พยายามใช้ปัญญาเป็นเครื่องส่องทางแห่งชีวิตตน พุทธภาษิตสอนให้รู้จักตอบแทนผู้มีพระคุณว่าเป็นสิ่งมงคล และสอนให้รู้จักหลักการดำเนินไปสู่พระนิพพาน ว่าเป็นยอดแห่งความสุข
ຜຍາພາສິດ
๔ ) ผญาภาษิต
เป็นคำสอนที่ให้คติธรรมอันลึกซึ้งแก่ชาวอีสานมาอย่างยาวนาน และเป็นคำสอนในลักษณะเปรียบเทียบ หรือให้ชี้ให้เห็นสัจจธรรมในการดำเนินชีวิต ผญาภาษิตอีสานมีรากฐานมาจากคำสอนในทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะพุทธศาสนสุภาษิตที่มีอิทพลต่อคำผญาภาษิตอีสานเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะคนอีสานนิยมสอนบุตรธิดาของตนโดยทางอ้อม ไม่ได้สอนโดยทางตรง เมื่อท่านจะสอนในเรื่องใดท่านมักจะผูกเป็นคำอุปมาอุปไมย โดยกล่าวถึงข้อเท็จจริงคือความเป็นอยู่และกิริยาอาการหรือความประพฤติของคนหรือสัตว์ ไม่ว่าในทางดีหรือทางชั่วอันเป็นไปในทางรูปธรรม เพื่อให้เกิดแง่คิดในทางนามธรรมเป็นข้อเปรียบเทียบกับรูปธรรม ผญาภาษิตนี้ส่วนมาจากคำสอนในหนังสือวรรณคดีเรื่องต่างๆ
สุภาษิตอีสานโดยภาพรวมจึงเกิดมาจากวรรณคดีทั้งทางศาสนาและประเพณีวัฒธรรมของชาวอีสานเป็นส่วนใหญ่ เพราะวรรณกรรมทางภาษาซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตน คือใช้วรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายเป็นสื่อในการสั่งสอนจริยธรรมตลอดถึงวิถีดำเนินชีวิต ตามความเชื่อและมีการตัดสินความดีความชั่วในสังคมด้วย ดังนั้นสุภาษิตอันเกิดจากวรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายจึงเป็นภาพสะท้อนถึงชีวิตคนและสังคมชาวอีสาน พอจะนำมากล่าวถึงมี ๔ ประการใหญ่ดังนี้ คือ
๒.๑.๒ ลักษณะของพุทธภาษิต
ลักษณะทั่วไปของพุทธศาสนสุภาษิตนั้นจัดแบ่งได้ ๒ ลักษณะ คือ ๑. ลักษณะทางฉันทลักษณ์ ๒. ลักษณะทางเนื้อหา
๑. ลักษณะทางฉันลักษณ์
เป็นคำร้อยกรองในภาษาบาลีเรียกว่า ฉันทลักษณะ เป็นคำประพันธ์ที่กำหนด ครุ ลหุ กำหนดจำนวนคำตามข้อบังคับของฉันท์แต่ละชนิด ฉันท์ ๑ บท เรียกว่า ๑ คาถา ฉันท์ ๑ คาถา มี ๔ บาท ฉันท์ ๑ บาทมี ๘ คำ ไม่เกิด ๑๑ คำ หรือ ๑๔ คำ ตามประเภทของฉันท์ นี้เป็นฉันท์ประเภทหนึ่งที่เรียนรู้และรู้จักกันเป็นอย่างดีในวงการภาษาบาลีในประเทศไทย ๖ ชนิด๕ คือ (๑ ) ปัฐยาวัตรฉันท์ (๒) อินทรวิเชียรฉันท์ (๓) อุเปนทรวิเชียรฉันท์ (๔) อินทรวงศ์ฉันท์ (๕) วังสัฏฐฉันท์ (๖) วสันตดิลกฉันท์
อีกนัยหนึ่งแบ่งตามลักษณะของวิธีการสอนของพระพุทธเจ้า ลักษณะเนื้อหาของพุทธภาษิต ผู้เชียวชาญทั้งหลายได้แบ่งเนื้อหาของสุภาษิตในพระพุทธศาสนาออกเป็นประเภทต่างๆ ตามลักษณะของรูปแบบคำสอนในพุทธศาสนาเรียกอีกอย่างว่า “นวังคสัตถุศาสตร์”๖ คือคำสอนของพระศาสดามีองค์ ๙ พุทธพจน์มีองค์ประกอบ ๙ อย่าง คือ
๑ ) สุตะ คือคำสั่งสอนที่เป็นพระสูตรและพระวินัย รวมทั้งคัมภีร์ทั้งสองด้วยโดยมีลักษณะเป็นสูตร ซึ่งประกอบไปด้วยระเบียบแบบแผนมีลำดับขั้นตอนต่างๆ อันมีข้อธรรมเป็นลักษณะคือ จากข้อหนึ่งถึงสิบข้อ
๒ ) เคยยะ คือ คำสอนที่เป็นลักษณะทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองผสมกัน ได้แก่พระสูตรที่มีคาถาทั้งหมด
๓ ) เวยยากรณะ (ไวยากรณ์) คือคำสอนเป็นแบบร้อยแก้วล้วนได้แก่พระอภิธรรมปิฏกทั้งหมด และพระสูตรที่ไม่มีคาถา
๔ ) คาถา คือ คำสอนแบบร้อยกรองล้วนๆ เช่น ธรรมบท, เถรคาถา, เถรีคาถา
๕ ) อุทาน คือ คำสอนที่เปล่งออกมาเป็นคำที่มีความหมายต่างๆตามสถานการณ์นั้นๆ เช่น สมัยเกิดความสังเวช , สมัยเกิดความปีติยินดีบ้าง ซึ่งเป็นพระคาถา ๘๒ สูตร
๖. ) อิติวุตตกะ เป็นเรื่อง อ้างอิง คือการยกมากล่าวอ้างของพระสังคีติกาจารย์ผู้รวบรวมโดยไม่บอกว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องเหล่านี้แก่ใคร ที่ไหนชื่อพระสูตรเหล่านี้มักขึ้นต้นด้วยคำว่า วุตตัง เหตัง ภควตา (พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดังนี้) เหมือนกันหมด จึงเรียกว่า อิติวุตตกะ แบ่งเป็น ๔ นิบาตมีทั้งหมด ๑๑๒ สูตร
๗ ) ชาดก คือ คำสอนที่กล่าวถึงเรื่องที่เกิดขึ้นมาแล้วในอดีตทั้งที่เป็นเรื่องราวในอดีตของพระพุทธเจ้าบ้าง สาวกบ้าง เป็นธรรมภาษิตในลักษณะการเล่านิทานธรรมอยู่ในเรื่อง ส่วนมากจะเป็นนิบาตชาดก
๘. ) อัพภูตธรรม คือคำสอนที่เป็นเรื่องราวอันน่าอัศจรรย์ใจหรือเรื่องปาฏิหาริย์
๙. ) เวทัลละ คือคำสอนที่สูงขึ้นไปตามลำดับ อาศัยการวิเคราะห์แยกแยะความหมายอย่างละเอียด เช่นพระอภิธรรมเป็นต้น
๒ ลักษณะทางเนื้อหา
เมื่อพิจารณาถึงเนื้อหาและความหมายของพุทธธรรมแล้วอาจแบ่งได้ ๒ ลักษณะด้วยกัน คือ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวงและสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอน
๒.๑ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวง
ตามนัยนี้ มีความหมายปกคลุมทุกสิ่งทุกอย่างในจักรวาล รวมทั้งสิ่งที่เป็น สังขตะและอสังขตะ ทั้งที่เป็นรูปและเป็นนาม ทั้งส่วนที่เป็นโลกีย์และโลกุตตร๑
สังขตธรรม ได้แก่สิ่งทั้งปวงที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ซึ่งอาจทราบได้ในลักษณะต่อไปนี้ “มีเกิดขึ้นในเบื้องต้น เปลี่ยนแปลงไปในท่ามกลางและแตกดับไปในที่สุด”๒ อสังขตธรรมนี้ได้แก่พระนิพพาน อันเป็นความดับทุกข์โดยเด็ดขาด ไม่มีเหตุไม่มีปัจจัยอะไรปรุงแต่งได้เลย แต่มีลักษณะให้ทราบได้ ๓ ประการ คือ “ไม่เกิดขึ้นปรากฏ ไม่ดับไปปรากฎ และขณะที่ดำรงอยู่ก็ไม่มีความเปลี่ยนแปลงปรากฏ” ๓
มีข้อที่ควรทราบอีกอย่างหนึ่งคือ สังขตธรรมนั้นหมายเอาทั้งโลกุตตรธรรม ๘ ประการ อันมีมรรค ๔ ผล ๔ ด้วย ส่วนอสังขตธรรมหมายเอาพระนิพพานอย่างเดียว ซึ่งก็จัดว่าเป็นโลกุตตรธรรมเหมือนกัน ในพุทธศาสนาได้กล่าวถึงลักษณะของสิ่งทั้งปวงไว้หลายอย่าง เช่น ธรรมตา, ธรรมธาตุ, ธรรมฐิติตา, ธรรมนิยามตา, ซึ่งแต่ละคำก็เป็นเครื่องแสดงให้เห็นว่า พุทธธรรมะคือสิ่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ด้วยตัวเอง มีความถูกต้องและเป็นอิสระในตัวเองโดยสมบูรณ์ มันเป็นกฎของจักรวาลหรือเป็นกฎเกณฑ์อันหนึ่งของธรรมชาติ ซึ่งคงอยู่ชั่วนิรันด์และมิไดถูกสร้างขึ้นใหม่ เป็นสภาพที่มีอยู่อย่างนั้น พระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตาม มิได้ทรงอุบัติก็ตาม สภาวะที่เรียกว่า ธรรมะ นั้น ก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้เปลี่ยนแปลงอย่างอื่น ดังพุทธพจน์ตรัสว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งป่วงเป็นอนัตตา”๔
ทั้ง ๓ ลักษณะนี้เรียกว่ากฎของธรรมดาหรือธรรมชาติ ข้อหนึ่งและสองใช้กล่าวถึงธรรมชาติของสังขตธรรม คือธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ส่วนข้อสุดท้ายใช้กล่าวถึงธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตานั้นใช้กล่าวถึงทั้งสังขตธรรมและอสังขตธรรม ดังพุทธพจน์ที่มาในคัมภีร์อังคุตตรนิกาย เป็นหลักฐานยืนยันข้อความข้างบนนั้นได้เป็นอย่างดีคือ
“ตถาคตเจ้าจะอุบัติขึ้นก็ตาม จะไม่อุบัติขึ้นก็ตามธรรมเหล่านี้ก็คงอยู่อย่านั้น ตั้งอยู่อย่างนั้น และเป็นอยู่อย่างนั้น คือสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ธรรมเหล่านี้ตถาคตได้รู้แจ้งแทงตลอดด้วยตนเองแล้วจึงได้นำมาประกาศแก่คนอื่น”
ได้ความว่าทั้งสังขตธรรมและสังขตธรรมที่กล่าวมานั้นรวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงอันเป็นสภาวะที่มีอยู่เดิม และคงอยู่อย่างนั้นพระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตามไม่ทรงอุบัติขึ้นก็ตาม จะรู้หรือไม่รู้ก็ตาม สภาวะนั้นก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้ถูกสร้างขึ้นมิได้ถูกทำลายโดยผู้ใดผู้หนึ่ง พระพุทธเจ้ามิได้เป็นผู้สร้างขึ้น เป็นเพียงผู้ค้นพบแล้วนำมาสอนคนอื่นเท่านั้นดังพุทธพจน์ว่า “พวกเธอจงพยายามทำความเพียรบากบั่นเองเถิด เราตถาคตเป็น แต่ผู้บอกแนวทางให้เท่านั้น”๕
๒.๒.ลักษณะที่เป็นคำสอน
ลักษณะคำสอนนี้ก็รวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงนั้นเอง พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอย่างไรหรือมีอะไรที่พระพุทธองค์ทรงสอน และมีสิ่งใดที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงสั่งสอน พระพุทธเจ้าทรงรู้ทุกสิ่งทุกอย่างจึงมีพระนามว่า สัพพัญญู แต่พระองค์มิได้ทรงสอนทุกอย่างที่พระองค์ตรัสรู้ ทรงสั่งสอนเฉพาะสิ่งที่จำเป็นในการปฏิบัติ เพื่อความพ้นทุกข์เท่านั้น
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหมดรวมอยู่ในคำว่า ธรรมหรือคำว่าศาสนาซึ่งหมายเอาทั้งปริยัติ (ทฤษฎี)และปฏิบัติ และปฏิเวธคือการรู้แจ้งแทงตลอดด้วย จะเห็นได้ว่าพุทธภาษิตนั้นเป็นคติเตือนใจของพุทธศาสนิกชนได้ จนบางครั้งสามารถเป็นกำลังใจและสามารถมีผลทำให้คนหยุดกระทำความชั่วได้นอกจากนั้นสุภาษิตก็ยังได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็นพระธรรมวินัย เป็นที่พึ่งแทนพระองค์สมดังพุทธวจนะมาในมหาปรินิพพานสูตรความว่า
“อานนท์ พวกเธอทั้งหลายอาจจะคิดว่า พระธรรมวินัยมีพระศาสดาล่วงลับไปแล้ว พระศาสดาของพวกเราไม่มีแล้ว, อานนท์ พวกเธอทั้งหลายไม่ควรเข้าใจอย่างนั้นแล้ว สำหรับพวกเธอทั้งหลายนั่นแล จักเป็นศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย ในเมื่อเราตถาคตล่วงลับไปแล้ว”๖
พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรมแก่ประชาชนด้วยวิธี ๓ อย่างด้วยกัน และวิธีการทั้ง ๓ นี้ถือว่าเป็นหลักการสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งมีข้อดังนี้๗
๑) พระองค์ทรงสั่งสอนเพื่อให้ผู้ฟังรู้ยิ่งเห็นจริงในธรรมที่ควรรู้ควรเห็น
๒) ทรงสั่งสอนมีเหตุผลที่ผู้ฟังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้
๓) ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์คือผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่การปฏิบัติ
อีกนัยหนึ่งเนื้อหาสาระแห่งพระโอวาทที่พระองค์ทรงประทานแก่พุทธบริษัทเสมอๆนั้น ประมวลลงในหลักการ ๓ อย่างคือ๘
๑ ) สั่งสอนให้เว้นจากการทำบาปทั้งปวง ทุจริต
๒) สั่งสอนให้ทำกุศลทั้งปวง
๓) ทำจิตให้ผ่องแผ้ว
ในคัมภีร์ทีฆนิกายกล่าวยืนยันถึงสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธปัญหาทางอภิปรัชญา ๑๐ ประการเรียกว่า อพยากตปัญหาหรือปัญหาโลกแตก แต่พระองค์ทรงตรัสสอนอริยสัจ ๔ ประการเป็นคำสอนของพระองค์ คือ เรื่องทุกข์ เหตุให้ทุกข์เกิด ความดับทุกข์ และทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์เป็นคำสอนของเราตถาคต โปฏฐปาทะทูลถามต่อไปอีกว่าเพราะเหตุใดพระองค์จึงทรงสอนสิ่งเหล่านี้ พระพุทธเจ้าทรงตรัสอรรถาธิบายต่อไปอีกความว่า
“ที่เราสอนเรื่องนี้ เพราะมันเป็นประโยชน์ เป็นความจริง เป็นวิถีแห่งชีวิตอันประเสริฐ ไม่ติดอยู่ในโลก เป็นไปเพื่อดับตัณหา เป็นไปเพื่อความสงบระงับใจ เป็นไปเพื่อความรู้แจ้งเห็นจริง และเป็นไปเพื่อพระนิพพาน ดังนั้นเราจึงได้นำมาสอนแก่สาวกทั้งหลาย”๙
จากพุทธพจน์นี้ชี้ให้เห็นว่า อริยสัจ ๔ เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือเป็นคำสอนที่พระองค์ทรงเน้นให้เห็นถึงปัณหาชีวิตในปัจจุบันที่มนุษย์ทุกรูปทุกนามประสบอยู่สิ่งนั้นคือ ทุกข์ พระพุทธเจ้าทรงเห็นว่า ชีวิตเต็มไปด้วยทุกข์ในบางครั้งที่รู้สึกว่าเป็นสุขนั้นเป็นเพียงความหลงเท่านั้น ที่แท้แล้วสิ่งที่เรียกว่าสุขนั้น ก็คือความทุกข์นั้นเอง ทุกข์ดังกล่าวนี้เกิดมาจากตัณหา เมื่อไม่มีตัณหาก็ไม่มีทุกข์อีกต่อไป พุทธภาษิตแล้วมีลักษณะทางคำสอนดังนี้คือ
๑ )หลักคำสอนในพุทธศาสนา เป็นหลักธรรมทางเสรีภาพที่เก่าแก่ที่สุดในโลก มีหลักการและวิธีการอันไม่ประกอบด้วยกาลเวลา เมื่อบุคคลประพฤติปฏิบัติตามย่อมได้ผลทันตา
๒ ) พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนให้เลิกละความเป็นทาสภายในใจตนเองนั้นคือ โลภะ โทสะ โมหะ
๓.) พุทธองค์ทรงสอนให้มนุษย์ทั้งปวงอยู่กันด้วยความมีเสรีภาพไม่เบียดเบียนกัน ให้เลิกดูหมิ่นกัน เพราะถือชาติ วรรณะ โคตร โดยมองให้เห็นว่าเป็นแก่นสารแห่งชีวิต แต่กลับสอนให้มนุษย์มองถึงฝ่ายใน คือความมีศีลธรรมเป็นเกณฑ์ในการตัดสิ้นคนดีหรือชั่ว
๔.) หลักคำสอนของพระพุทธเจ้าสั่งสอนให้มนุษย์รู้จักการเสียสละ การเว้นการฆ่าสัตว์ตลอดถึงการทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน พุทธภาษิตเน้นวิธีการให้เกิดความสังคมสงเคราะห์ แทนการเอาเปรียบกันและกัน และสอนให้หันมาชำระจิตใจให้บริสุทธิ์สะอาดแทนซึ่งเป็นการทำบุญที่สูงสุด
๕ ) พุทธพุทธเจ้ามุ่งสั่งสอนวิธีตรงเข้าหาความจริงและให้รู้จักกับความเป็นจริงของชีวิต โดยมองว่าชีวิตมนุษย์มีความเกิดแก่เจ็บตาย เป็นกฎแห่งพระไตรลักษณ์ รวมทั้งสอนให้รู้จักดำเนินชีวิตให้ตรงไปตรงมาไม่ควรเชื้อเรื่องฤกษ์ยาม น้ำศักดิ์สิทธิ์ แต่กับสอนให้รู้จักทำช่วยตนเองเป็นหลักสำคัญ และสอนให้มนุษย์เข้าใจถึงการเกิดในภพต่างๆ เพราะแรงแห่งตัณหาเป็นปัจจัย
๖.) พุทธภาษิต เป็นวิธีการสอนให้แก้ความเสื่อมทางศีลธรรม โดยไม่มองข้ามปัญหาทางเศรษฐกิจ สอนให้แก้ความชั่วด้วยความความดี สอนให้แก้ที่ตัวเราเองก่อน โดยไม่คอยเกี่ยงให้คนทั้งโลกดีหมดแล้วจึงจะดีเป็นคนสุดท้าย
๗ ) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์ตระหนักถึงเรื่องของสติปัญญาในการดำเนินชีวิต โดยให้ใช้ความรอบคอบในการแก้ไขปัญหา ด้วยการพิจารณาให้เห็นสาเหตุแห่งทุกข์ แล้วแก้ไขให้ตรงจุด ไม่ให้เชื้ออย่างงายไร้เหตุผล
๘ ) พุทธภาษิตมุ่งเน้นให้มนุษย์ยึดถือธรรมเป็นใหญ่ เรียกว่าธรรมาธิปไตย ไม่ให้ยึดถือตนเป็นสำคัญ และให้ถือการปฏิบัติเป็นสำคัญในการบูชา
๙.) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์พยายามพึ่งตนเอง และฝึกฝนตนเองมากกว่าพึงพาผู้อื่น เพื่อยกระดับชีวิตตนเองให้ก้าวหน้า ไม่สอนให้รอการอ้อนวอนบวงสรวงจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และยึดหลักว่ามนุษย์มีกรรมเป็นของๆตน ด้วยการทำดีได้ดีนั้นเอง
๑๐ ) พุทธภาษิตพยายามไม่สอนให้พุทธบริษัทอย่าเชื้อถือสิ่งได้ด้วยการเด่า แต่ให้เชื่อหลักของพุทธศาสนาที่มีหลักการดีกว่า
๑๑ ) พุทธภาษิตเสนอหลักการให้มนุษย์ทำความดีงามเพราะเห็นแก่ความดี ไม่ทำความดีเพื่อมุ่งลาภ ยศ สรรเสริญ และพุทธศาสนาก็มีหลักการที่พิสูจน์ได้ทุกสมัย
๑๒ ) พุทธภาษิตต้องการให้มีความขยันหมั่นเพียร ไม่เกียจคร้าน ยิ่งเป็นฆราวาสย่อมต้องใช้หลักธรรมนี้ให้มาก เพราะการครองเรือนที่มีความสุขได้ต้องมีทรัพย์เป็นเครื่องค้ำจุน จึงจะตั้งตัวได้ดี
๑๓ ) พุทธภาษิตต้องการให้เอาชนะความชั่วด้วยความดี ให้ระงับการจองเวรต่อกัน และอย่าได้ก่อความวุ่นวายให้แก่ผู้อื่น ให้รู้จักการผูกไมตรีต่อกัน โดยการเอื้อเพื้อเผือแผ่แก่กันและกันคือสละสุขส่วนตนเพื่อประโยชน์สุขแก่มหาชน สละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ สละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิตและสุดท้ายก็สละชีวิตเพื่อรักษาธรรม
๑๔ ) พุทธภาษิตต้องการสอนให้มนุษย์มีความอดทน ต่อสู้กับความลำบากต่างๆเพื่อเอาชนะอุปสรรคทั้งหลาย ไม่เป็นคนอ่อนแอ และขณะเดียวเมื่อมีความสุขก็อย่าได้หลง ให้ตั้งตนอยู่ในความไม่ประมาท ชีวิตจึงจะพบกับความสุข ดังนั้นพุทธภาษิตก็ยังพยายามให้คนรู้จักรักษากายวาจาและใจของตนให้เป็นปกติ
๑๕ ) พุทธภาษิตต้องการเสื่อให้เห็นหลักการปกครองที่เป็นธรรม โดยยึดหลักความละอายต่อความบาป และความชั่วทั้งหลาย ทั้งผู้นำรัฐและผู้ปกครองในระดับท้องถิ่นควรมีหลักธรรมอย่างนี้ พุทธศาสนาสอนให้รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น อย่าดูหมิ่นผู้อื่นเพราะชาติตระกูล เพราะทรัพย์ และอย่ามีอคติต่อกัน เจ้านายก็ให้รู้จักใช้บ่าว ตลอดถึงการรู้จักเลือกคบกับมิตรที่ดี เว้นบาปมิตร
๑๖ ) พุทธภาษิตสอนให้ใช้ปัญญานำหน้าในการดำเนินชีวิต และสอนให้รู้จักการศึกษา เข้าหาผู้เป็นบัณฑิต และเว้นพาลชน เพื่อความก้าวหน้าแห่งตน และสอนให้รู้จักแบ่งปันกันเพื่อความผาสุขแห่งสังคม และอย่าได้ก่อศัตรูขึ้นมาโดยถือว่ามนุษย์ทุกคนไม่มีดีที่สมบูรณ์ แต่ให้มองหาความดีของผู้อื่น และสอนให้มองดูธรรมชาติโดยความเป็นจริง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงจะได้ไม่เป็นทุกข์ และต้องพยายามเดินตามแนวทางสายกลางย่อมเป็นประตนและผู้อื่นตลอดถึงประโยชน์สูงสุดคือพระนิพพาน
๑๗. ) พุทธภาษิตสอนให้ยึดปรมัตถ์ประโยชน์ อย่าหลงในสิ่งอันเป็นสิ่งสมมติอันเป็นสิ่งบัญญัติ แต่ดูโดยรู้เท่าทัน พยายามใช้ปัญญาเป็นเครื่องส่องทางแห่งชีวิตตน พุทธภาษิตสอนให้รู้จักตอบแทนผู้มีพระคุณว่าเป็นสิ่งมงคล และสอนให้รู้จักหลักการดำเนินไปสู่พระนิพพาน ว่าเป็นยอดแห่งความสุข
เป็นคำสอนที่ให้คติธรรมอันลึกซึ้งแก่ชาวอีสานมาอย่างยาวนาน และเป็นคำสอนในลักษณะเปรียบเทียบ หรือให้ชี้ให้เห็นสัจจธรรมในการดำเนินชีวิต ผญาภาษิตอีสานมีรากฐานมาจากคำสอนในทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะพุทธศาสนสุภาษิตที่มีอิทพลต่อคำผญาภาษิตอีสานเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะคนอีสานนิยมสอนบุตรธิดาของตนโดยทางอ้อม ไม่ได้สอนโดยทางตรง เมื่อท่านจะสอนในเรื่องใดท่านมักจะผูกเป็นคำอุปมาอุปไมย โดยกล่าวถึงข้อเท็จจริงคือความเป็นอยู่และกิริยาอาการหรือความประพฤติของคนหรือสัตว์ ไม่ว่าในทางดีหรือทางชั่วอันเป็นไปในทางรูปธรรม เพื่อให้เกิดแง่คิดในทางนามธรรมเป็นข้อเปรียบเทียบกับรูปธรรม ผญาภาษิตนี้ส่วนมาจากคำสอนในหนังสือวรรณคดีเรื่องต่างๆ
สุภาษิตอีสานโดยภาพรวมจึงเกิดมาจากวรรณคดีทั้งทางศาสนาและประเพณีวัฒธรรมของชาวอีสานเป็นส่วนใหญ่ เพราะวรรณกรรมทางภาษาซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตน คือใช้วรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายเป็นสื่อในการสั่งสอนจริยธรรมตลอดถึงวิถีดำเนินชีวิต ตามความเชื่อและมีการตัดสินความดีความชั่วในสังคมด้วย ดังนั้นสุภาษิตอันเกิดจากวรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายจึงเป็นภาพสะท้อนถึงชีวิตคนและสังคมชาวอีสาน พอจะนำมากล่าวถึงมี ๔ ประการใหญ่ดังนี้ คือ
๒.๑.๒ ลักษณะของพุทธภาษิต
ลักษณะทั่วไปของพุทธศาสนสุภาษิตนั้นจัดแบ่งได้ ๒ ลักษณะ คือ ๑. ลักษณะทางฉันทลักษณ์ ๒. ลักษณะทางเนื้อหา
๑. ลักษณะทางฉันลักษณ์
เป็นคำร้อยกรองในภาษาบาลีเรียกว่า ฉันทลักษณะ เป็นคำประพันธ์ที่กำหนด ครุ ลหุ กำหนดจำนวนคำตามข้อบังคับของฉันท์แต่ละชนิด ฉันท์ ๑ บท เรียกว่า ๑ คาถา ฉันท์ ๑ คาถา มี ๔ บาท ฉันท์ ๑ บาทมี ๘ คำ ไม่เกิด ๑๑ คำ หรือ ๑๔ คำ ตามประเภทของฉันท์ นี้เป็นฉันท์ประเภทหนึ่งที่เรียนรู้และรู้จักกันเป็นอย่างดีในวงการภาษาบาลีในประเทศไทย ๖ ชนิด๕ คือ (๑ ) ปัฐยาวัตรฉันท์ (๒) อินทรวิเชียรฉันท์ (๓) อุเปนทรวิเชียรฉันท์ (๔) อินทรวงศ์ฉันท์ (๕) วังสัฏฐฉันท์ (๖) วสันตดิลกฉันท์
อีกนัยหนึ่งแบ่งตามลักษณะของวิธีการสอนของพระพุทธเจ้า ลักษณะเนื้อหาของพุทธภาษิต ผู้เชียวชาญทั้งหลายได้แบ่งเนื้อหาของสุภาษิตในพระพุทธศาสนาออกเป็นประเภทต่างๆ ตามลักษณะของรูปแบบคำสอนในพุทธศาสนาเรียกอีกอย่างว่า “นวังคสัตถุศาสตร์”๖ คือคำสอนของพระศาสดามีองค์ ๙ พุทธพจน์มีองค์ประกอบ ๙ อย่าง คือ
๑ ) สุตะ คือคำสั่งสอนที่เป็นพระสูตรและพระวินัย รวมทั้งคัมภีร์ทั้งสองด้วยโดยมีลักษณะเป็นสูตร ซึ่งประกอบไปด้วยระเบียบแบบแผนมีลำดับขั้นตอนต่างๆ อันมีข้อธรรมเป็นลักษณะคือ จากข้อหนึ่งถึงสิบข้อ
๒ ) เคยยะ คือ คำสอนที่เป็นลักษณะทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองผสมกัน ได้แก่พระสูตรที่มีคาถาทั้งหมด
๓ ) เวยยากรณะ (ไวยากรณ์) คือคำสอนเป็นแบบร้อยแก้วล้วนได้แก่พระอภิธรรมปิฏกทั้งหมด และพระสูตรที่ไม่มีคาถา
๔ ) คาถา คือ คำสอนแบบร้อยกรองล้วนๆ เช่น ธรรมบท, เถรคาถา, เถรีคาถา
๕ ) อุทาน คือ คำสอนที่เปล่งออกมาเป็นคำที่มีความหมายต่างๆตามสถานการณ์นั้นๆ เช่น สมัยเกิดความสังเวช , สมัยเกิดความปีติยินดีบ้าง ซึ่งเป็นพระคาถา ๘๒ สูตร
๖. ) อิติวุตตกะ เป็นเรื่อง อ้างอิง คือการยกมากล่าวอ้างของพระสังคีติกาจารย์ผู้รวบรวมโดยไม่บอกว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องเหล่านี้แก่ใคร ที่ไหนชื่อพระสูตรเหล่านี้มักขึ้นต้นด้วยคำว่า วุตตัง เหตัง ภควตา (พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดังนี้) เหมือนกันหมด จึงเรียกว่า อิติวุตตกะ แบ่งเป็น ๔ นิบาตมีทั้งหมด ๑๑๒ สูตร
๗ ) ชาดก คือ คำสอนที่กล่าวถึงเรื่องที่เกิดขึ้นมาแล้วในอดีตทั้งที่เป็นเรื่องราวในอดีตของพระพุทธเจ้าบ้าง สาวกบ้าง เป็นธรรมภาษิตในลักษณะการเล่านิทานธรรมอยู่ในเรื่อง ส่วนมากจะเป็นนิบาตชาดก
๘. ) อัพภูตธรรม คือคำสอนที่เป็นเรื่องราวอันน่าอัศจรรย์ใจหรือเรื่องปาฏิหาริย์
๙. ) เวทัลละ คือคำสอนที่สูงขึ้นไปตามลำดับ อาศัยการวิเคราะห์แยกแยะความหมายอย่างละเอียด เช่นพระอภิธรรมเป็นต้น
๒ ลักษณะทางเนื้อหา
เมื่อพิจารณาถึงเนื้อหาและความหมายของพุทธธรรมแล้วอาจแบ่งได้ ๒ ลักษณะด้วยกัน คือ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวงและสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอน
๒.๑ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวง
ตามนัยนี้ มีความหมายปกคลุมทุกสิ่งทุกอย่างในจักรวาล รวมทั้งสิ่งที่เป็น สังขตะและอสังขตะ ทั้งที่เป็นรูปและเป็นนาม ทั้งส่วนที่เป็นโลกีย์และโลกุตตร๑
สังขตธรรม ได้แก่สิ่งทั้งปวงที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ซึ่งอาจทราบได้ในลักษณะต่อไปนี้ “มีเกิดขึ้นในเบื้องต้น เปลี่ยนแปลงไปในท่ามกลางและแตกดับไปในที่สุด”๒ อสังขตธรรมนี้ได้แก่พระนิพพาน อันเป็นความดับทุกข์โดยเด็ดขาด ไม่มีเหตุไม่มีปัจจัยอะไรปรุงแต่งได้เลย แต่มีลักษณะให้ทราบได้ ๓ ประการ คือ “ไม่เกิดขึ้นปรากฏ ไม่ดับไปปรากฎ และขณะที่ดำรงอยู่ก็ไม่มีความเปลี่ยนแปลงปรากฏ” ๓
มีข้อที่ควรทราบอีกอย่างหนึ่งคือ สังขตธรรมนั้นหมายเอาทั้งโลกุตตรธรรม ๘ ประการ อันมีมรรค ๔ ผล ๔ ด้วย ส่วนอสังขตธรรมหมายเอาพระนิพพานอย่างเดียว ซึ่งก็จัดว่าเป็นโลกุตตรธรรมเหมือนกัน ในพุทธศาสนาได้กล่าวถึงลักษณะของสิ่งทั้งปวงไว้หลายอย่าง เช่น ธรรมตา, ธรรมธาตุ, ธรรมฐิติตา, ธรรมนิยามตา, ซึ่งแต่ละคำก็เป็นเครื่องแสดงให้เห็นว่า พุทธธรรมะคือสิ่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ด้วยตัวเอง มีความถูกต้องและเป็นอิสระในตัวเองโดยสมบูรณ์ มันเป็นกฎของจักรวาลหรือเป็นกฎเกณฑ์อันหนึ่งของธรรมชาติ ซึ่งคงอยู่ชั่วนิรันด์และมิไดถูกสร้างขึ้นใหม่ เป็นสภาพที่มีอยู่อย่างนั้น พระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตาม มิได้ทรงอุบัติก็ตาม สภาวะที่เรียกว่า ธรรมะ นั้น ก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้เปลี่ยนแปลงอย่างอื่น ดังพุทธพจน์ตรัสว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งป่วงเป็นอนัตตา”๔
ทั้ง ๓ ลักษณะนี้เรียกว่ากฎของธรรมดาหรือธรรมชาติ ข้อหนึ่งและสองใช้กล่าวถึงธรรมชาติของสังขตธรรม คือธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ส่วนข้อสุดท้ายใช้กล่าวถึงธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตานั้นใช้กล่าวถึงทั้งสังขตธรรมและอสังขตธรรม ดังพุทธพจน์ที่มาในคัมภีร์อังคุตตรนิกาย เป็นหลักฐานยืนยันข้อความข้างบนนั้นได้เป็นอย่างดีคือ
“ตถาคตเจ้าจะอุบัติขึ้นก็ตาม จะไม่อุบัติขึ้นก็ตามธรรมเหล่านี้ก็คงอยู่อย่านั้น ตั้งอยู่อย่างนั้น และเป็นอยู่อย่างนั้น คือสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ธรรมเหล่านี้ตถาคตได้รู้แจ้งแทงตลอดด้วยตนเองแล้วจึงได้นำมาประกาศแก่คนอื่น”
ได้ความว่าทั้งสังขตธรรมและสังขตธรรมที่กล่าวมานั้นรวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงอันเป็นสภาวะที่มีอยู่เดิม และคงอยู่อย่างนั้นพระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตามไม่ทรงอุบัติขึ้นก็ตาม จะรู้หรือไม่รู้ก็ตาม สภาวะนั้นก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้ถูกสร้างขึ้นมิได้ถูกทำลายโดยผู้ใดผู้หนึ่ง พระพุทธเจ้ามิได้เป็นผู้สร้างขึ้น เป็นเพียงผู้ค้นพบแล้วนำมาสอนคนอื่นเท่านั้นดังพุทธพจน์ว่า “พวกเธอจงพยายามทำความเพียรบากบั่นเองเถิด เราตถาคตเป็น แต่ผู้บอกแนวทางให้เท่านั้น”๕
๒.๒.ลักษณะที่เป็นคำสอน
ลักษณะคำสอนนี้ก็รวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงนั้นเอง พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอย่างไรหรือมีอะไรที่พระพุทธองค์ทรงสอน และมีสิ่งใดที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงสั่งสอน พระพุทธเจ้าทรงรู้ทุกสิ่งทุกอย่างจึงมีพระนามว่า สัพพัญญู แต่พระองค์มิได้ทรงสอนทุกอย่างที่พระองค์ตรัสรู้ ทรงสั่งสอนเฉพาะสิ่งที่จำเป็นในการปฏิบัติ เพื่อความพ้นทุกข์เท่านั้น
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหมดรวมอยู่ในคำว่า ธรรมหรือคำว่าศาสนาซึ่งหมายเอาทั้งปริยัติ (ทฤษฎี)และปฏิบัติ และปฏิเวธคือการรู้แจ้งแทงตลอดด้วย จะเห็นได้ว่าพุทธภาษิตนั้นเป็นคติเตือนใจของพุทธศาสนิกชนได้ จนบางครั้งสามารถเป็นกำลังใจและสามารถมีผลทำให้คนหยุดกระทำความชั่วได้นอกจากนั้นสุภาษิตก็ยังได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็นพระธรรมวินัย เป็นที่พึ่งแทนพระองค์สมดังพุทธวจนะมาในมหาปรินิพพานสูตรความว่า
“อานนท์ พวกเธอทั้งหลายอาจจะคิดว่า พระธรรมวินัยมีพระศาสดาล่วงลับไปแล้ว พระศาสดาของพวกเราไม่มีแล้ว, อานนท์ พวกเธอทั้งหลายไม่ควรเข้าใจอย่างนั้นแล้ว สำหรับพวกเธอทั้งหลายนั่นแล จักเป็นศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย ในเมื่อเราตถาคตล่วงลับไปแล้ว”๖
พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรมแก่ประชาชนด้วยวิธี ๓ อย่างด้วยกัน และวิธีการทั้ง ๓ นี้ถือว่าเป็นหลักการสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งมีข้อดังนี้๗
๑) พระองค์ทรงสั่งสอนเพื่อให้ผู้ฟังรู้ยิ่งเห็นจริงในธรรมที่ควรรู้ควรเห็น
๒) ทรงสั่งสอนมีเหตุผลที่ผู้ฟังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้
๓) ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์คือผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่การปฏิบัติ
อีกนัยหนึ่งเนื้อหาสาระแห่งพระโอวาทที่พระองค์ทรงประทานแก่พุทธบริษัทเสมอๆนั้น ประมวลลงในหลักการ ๓ อย่างคือ๘
๑ ) สั่งสอนให้เว้นจากการทำบาปทั้งปวง ทุจริต
๒) สั่งสอนให้ทำกุศลทั้งปวง
๓) ทำจิตให้ผ่องแผ้ว
ในคัมภีร์ทีฆนิกายกล่าวยืนยันถึงสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธปัญหาทางอภิปรัชญา ๑๐ ประการเรียกว่า อพยากตปัญหาหรือปัญหาโลกแตก แต่พระองค์ทรงตรัสสอนอริยสัจ ๔ ประการเป็นคำสอนของพระองค์ คือ เรื่องทุกข์ เหตุให้ทุกข์เกิด ความดับทุกข์ และทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์เป็นคำสอนของเราตถาคต โปฏฐปาทะทูลถามต่อไปอีกว่าเพราะเหตุใดพระองค์จึงทรงสอนสิ่งเหล่านี้ พระพุทธเจ้าทรงตรัสอรรถาธิบายต่อไปอีกความว่า
“ที่เราสอนเรื่องนี้ เพราะมันเป็นประโยชน์ เป็นความจริง เป็นวิถีแห่งชีวิตอันประเสริฐ ไม่ติดอยู่ในโลก เป็นไปเพื่อดับตัณหา เป็นไปเพื่อความสงบระงับใจ เป็นไปเพื่อความรู้แจ้งเห็นจริง และเป็นไปเพื่อพระนิพพาน ดังนั้นเราจึงได้นำมาสอนแก่สาวกทั้งหลาย”๙
จากพุทธพจน์นี้ชี้ให้เห็นว่า อริยสัจ ๔ เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือเป็นคำสอนที่พระองค์ทรงเน้นให้เห็นถึงปัณหาชีวิตในปัจจุบันที่มนุษย์ทุกรูปทุกนามประสบอยู่สิ่งนั้นคือ ทุกข์ พระพุทธเจ้าทรงเห็นว่า ชีวิตเต็มไปด้วยทุกข์ในบางครั้งที่รู้สึกว่าเป็นสุขนั้นเป็นเพียงความหลงเท่านั้น ที่แท้แล้วสิ่งที่เรียกว่าสุขนั้น ก็คือความทุกข์นั้นเอง ทุกข์ดังกล่าวนี้เกิดมาจากตัณหา เมื่อไม่มีตัณหาก็ไม่มีทุกข์อีกต่อไป พุทธภาษิตแล้วมีลักษณะทางคำสอนดังนี้คือ
๑ )หลักคำสอนในพุทธศาสนา เป็นหลักธรรมทางเสรีภาพที่เก่าแก่ที่สุดในโลก มีหลักการและวิธีการอันไม่ประกอบด้วยกาลเวลา เมื่อบุคคลประพฤติปฏิบัติตามย่อมได้ผลทันตา
๒ ) พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนให้เลิกละความเป็นทาสภายในใจตนเองนั้นคือ โลภะ โทสะ โมหะ
๓.) พุทธองค์ทรงสอนให้มนุษย์ทั้งปวงอยู่กันด้วยความมีเสรีภาพไม่เบียดเบียนกัน ให้เลิกดูหมิ่นกัน เพราะถือชาติ วรรณะ โคตร โดยมองให้เห็นว่าเป็นแก่นสารแห่งชีวิต แต่กลับสอนให้มนุษย์มองถึงฝ่ายใน คือความมีศีลธรรมเป็นเกณฑ์ในการตัดสิ้นคนดีหรือชั่ว
๔.) หลักคำสอนของพระพุทธเจ้าสั่งสอนให้มนุษย์รู้จักการเสียสละ การเว้นการฆ่าสัตว์ตลอดถึงการทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน พุทธภาษิตเน้นวิธีการให้เกิดความสังคมสงเคราะห์ แทนการเอาเปรียบกันและกัน และสอนให้หันมาชำระจิตใจให้บริสุทธิ์สะอาดแทนซึ่งเป็นการทำบุญที่สูงสุด
๕ ) พุทธพุทธเจ้ามุ่งสั่งสอนวิธีตรงเข้าหาความจริงและให้รู้จักกับความเป็นจริงของชีวิต โดยมองว่าชีวิตมนุษย์มีความเกิดแก่เจ็บตาย เป็นกฎแห่งพระไตรลักษณ์ รวมทั้งสอนให้รู้จักดำเนินชีวิตให้ตรงไปตรงมาไม่ควรเชื้อเรื่องฤกษ์ยาม น้ำศักดิ์สิทธิ์ แต่กับสอนให้รู้จักทำช่วยตนเองเป็นหลักสำคัญ และสอนให้มนุษย์เข้าใจถึงการเกิดในภพต่างๆ เพราะแรงแห่งตัณหาเป็นปัจจัย
๖.) พุทธภาษิต เป็นวิธีการสอนให้แก้ความเสื่อมทางศีลธรรม โดยไม่มองข้ามปัญหาทางเศรษฐกิจ สอนให้แก้ความชั่วด้วยความความดี สอนให้แก้ที่ตัวเราเองก่อน โดยไม่คอยเกี่ยงให้คนทั้งโลกดีหมดแล้วจึงจะดีเป็นคนสุดท้าย
๗ ) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์ตระหนักถึงเรื่องของสติปัญญาในการดำเนินชีวิต โดยให้ใช้ความรอบคอบในการแก้ไขปัญหา ด้วยการพิจารณาให้เห็นสาเหตุแห่งทุกข์ แล้วแก้ไขให้ตรงจุด ไม่ให้เชื้ออย่างงายไร้เหตุผล
๘ ) พุทธภาษิตมุ่งเน้นให้มนุษย์ยึดถือธรรมเป็นใหญ่ เรียกว่าธรรมาธิปไตย ไม่ให้ยึดถือตนเป็นสำคัญ และให้ถือการปฏิบัติเป็นสำคัญในการบูชา
๙.) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์พยายามพึ่งตนเอง และฝึกฝนตนเองมากกว่าพึงพาผู้อื่น เพื่อยกระดับชีวิตตนเองให้ก้าวหน้า ไม่สอนให้รอการอ้อนวอนบวงสรวงจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และยึดหลักว่ามนุษย์มีกรรมเป็นของๆตน ด้วยการทำดีได้ดีนั้นเอง
๑๐ ) พุทธภาษิตพยายามไม่สอนให้พุทธบริษัทอย่าเชื้อถือสิ่งได้ด้วยการเด่า แต่ให้เชื่อหลักของพุทธศาสนาที่มีหลักการดีกว่า
๑๑ ) พุทธภาษิตเสนอหลักการให้มนุษย์ทำความดีงามเพราะเห็นแก่ความดี ไม่ทำความดีเพื่อมุ่งลาภ ยศ สรรเสริญ และพุทธศาสนาก็มีหลักการที่พิสูจน์ได้ทุกสมัย
๑๒ ) พุทธภาษิตต้องการให้มีความขยันหมั่นเพียร ไม่เกียจคร้าน ยิ่งเป็นฆราวาสย่อมต้องใช้หลักธรรมนี้ให้มาก เพราะการครองเรือนที่มีความสุขได้ต้องมีทรัพย์เป็นเครื่องค้ำจุน จึงจะตั้งตัวได้ดี
๑๓ ) พุทธภาษิตต้องการให้เอาชนะความชั่วด้วยความดี ให้ระงับการจองเวรต่อกัน และอย่าได้ก่อความวุ่นวายให้แก่ผู้อื่น ให้รู้จักการผูกไมตรีต่อกัน โดยการเอื้อเพื้อเผือแผ่แก่กันและกันคือสละสุขส่วนตนเพื่อประโยชน์สุขแก่มหาชน สละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ สละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิตและสุดท้ายก็สละชีวิตเพื่อรักษาธรรม
๑๔ ) พุทธภาษิตต้องการสอนให้มนุษย์มีความอดทน ต่อสู้กับความลำบากต่างๆเพื่อเอาชนะอุปสรรคทั้งหลาย ไม่เป็นคนอ่อนแอ และขณะเดียวเมื่อมีความสุขก็อย่าได้หลง ให้ตั้งตนอยู่ในความไม่ประมาท ชีวิตจึงจะพบกับความสุข ดังนั้นพุทธภาษิตก็ยังพยายามให้คนรู้จักรักษากายวาจาและใจของตนให้เป็นปกติ
๑๕ ) พุทธภาษิตต้องการเสื่อให้เห็นหลักการปกครองที่เป็นธรรม โดยยึดหลักความละอายต่อความบาป และความชั่วทั้งหลาย ทั้งผู้นำรัฐและผู้ปกครองในระดับท้องถิ่นควรมีหลักธรรมอย่างนี้ พุทธศาสนาสอนให้รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น อย่าดูหมิ่นผู้อื่นเพราะชาติตระกูล เพราะทรัพย์ และอย่ามีอคติต่อกัน เจ้านายก็ให้รู้จักใช้บ่าว ตลอดถึงการรู้จักเลือกคบกับมิตรที่ดี เว้นบาปมิตร
๑๖ ) พุทธภาษิตสอนให้ใช้ปัญญานำหน้าในการดำเนินชีวิต และสอนให้รู้จักการศึกษา เข้าหาผู้เป็นบัณฑิต และเว้นพาลชน เพื่อความก้าวหน้าแห่งตน และสอนให้รู้จักแบ่งปันกันเพื่อความผาสุขแห่งสังคม และอย่าได้ก่อศัตรูขึ้นมาโดยถือว่ามนุษย์ทุกคนไม่มีดีที่สมบูรณ์ แต่ให้มองหาความดีของผู้อื่น และสอนให้มองดูธรรมชาติโดยความเป็นจริง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงจะได้ไม่เป็นทุกข์ และต้องพยายามเดินตามแนวทางสายกลางย่อมเป็นประตนและผู้อื่นตลอดถึงประโยชน์สูงสุดคือพระนิพพาน
๑๗. ) พุทธภาษิตสอนให้ยึดปรมัตถ์ประโยชน์ อย่าหลงในสิ่งอันเป็นสิ่งสมมติอันเป็นสิ่งบัญญัติ แต่ดูโดยรู้เท่าทัน พยายามใช้ปัญญาเป็นเครื่องส่องทางแห่งชีวิตตน พุทธภาษิตสอนให้รู้จักตอบแทนผู้มีพระคุณว่าเป็นสิ่งมงคล และสอนให้รู้จักหลักการดำเนินไปสู่พระนิพพาน ว่าเป็นยอดแห่งความสุข
๔ ) ผญาภาษิต
เป็นคำสอนที่ให้คติธรรมอันลึกซึ้งแก่ชาวอีสานมาอย่างยาวนาน และเป็นคำสอนในลักษณะเปรียบเทียบ หรือให้ชี้ให้เห็นสัจจธรรมในการดำเนินชีวิต ผญาภาษิตอีสานมีรากฐานมาจากคำสอนในทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะพุทธศาสนสุภาษิตที่มีอิทพลต่อคำผญาภาษิตอีสานเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะคนอีสานนิยมสอนบุตรธิดาของตนโดยทางอ้อม ไม่ได้สอนโดยทางตรง เมื่อท่านจะสอนในเรื่องใดท่านมักจะผูกเป็นคำอุปมาอุปไมย โดยกล่าวถึงข้อเท็จจริงคือความเป็นอยู่และกิริยาอาการหรือความประพฤติของคนหรือสัตว์ ไม่ว่าในทางดีหรือทางชั่วอันเป็นไปในทางรูปธรรม เพื่อให้เกิดแง่คิดในทางนามธรรมเป็นข้อเปรียบเทียบกับรูปธรรม ผญาภาษิตนี้ส่วนมาจากคำสอนในหนังสือวรรณคดีเรื่องต่างๆ
สุภาษิตอีสานโดยภาพรวมจึงเกิดมาจากวรรณคดีทั้งทางศาสนาและประเพณีวัฒธรรมของชาวอีสานเป็นส่วนใหญ่ เพราะวรรณกรรมทางภาษาซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตน คือใช้วรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายเป็นสื่อในการสั่งสอนจริยธรรมตลอดถึงวิถีดำเนินชีวิต ตามความเชื่อและมีการตัดสินความดีความชั่วในสังคมด้วย ดังนั้นสุภาษิตอันเกิดจากวรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายจึงเป็นภาพสะท้อนถึงชีวิตคนและสังคมชาวอีสาน พอจะนำมากล่าวถึงมี ๔ ประการใหญ่ดังนี้ คือ
๒.๑.๒ ลักษณะของพุทธภาษิต
ลักษณะทั่วไปของพุทธศาสนสุภาษิตนั้นจัดแบ่งได้ ๒ ลักษณะ คือ ๑. ลักษณะทางฉันทลักษณ์ ๒. ลักษณะทางเนื้อหา
๑. ลักษณะทางฉันลักษณ์
เป็นคำร้อยกรองในภาษาบาลีเรียกว่า ฉันทลักษณะ เป็นคำประพันธ์ที่กำหนด ครุ ลหุ กำหนดจำนวนคำตามข้อบังคับของฉันท์แต่ละชนิด ฉันท์ ๑ บท เรียกว่า ๑ คาถา ฉันท์ ๑ คาถา มี ๔ บาท ฉันท์ ๑ บาทมี ๘ คำ ไม่เกิด ๑๑ คำ หรือ ๑๔ คำ ตามประเภทของฉันท์ นี้เป็นฉันท์ประเภทหนึ่งที่เรียนรู้และรู้จักกันเป็นอย่างดีในวงการภาษาบาลีในประเทศไทย ๖ ชนิด๕ คือ (๑ ) ปัฐยาวัตรฉันท์ (๒) อินทรวิเชียรฉันท์ (๓) อุเปนทรวิเชียรฉันท์ (๔) อินทรวงศ์ฉันท์ (๕) วังสัฏฐฉันท์ (๖) วสันตดิลกฉันท์
อีกนัยหนึ่งแบ่งตามลักษณะของวิธีการสอนของพระพุทธเจ้า ลักษณะเนื้อหาของพุทธภาษิต ผู้เชียวชาญทั้งหลายได้แบ่งเนื้อหาของสุภาษิตในพระพุทธศาสนาออกเป็นประเภทต่างๆ ตามลักษณะของรูปแบบคำสอนในพุทธศาสนาเรียกอีกอย่างว่า “นวังคสัตถุศาสตร์”๖ คือคำสอนของพระศาสดามีองค์ ๙ พุทธพจน์มีองค์ประกอบ ๙ อย่าง คือ
๑ ) สุตะ คือคำสั่งสอนที่เป็นพระสูตรและพระวินัย รวมทั้งคัมภีร์ทั้งสองด้วยโดยมีลักษณะเป็นสูตร ซึ่งประกอบไปด้วยระเบียบแบบแผนมีลำดับขั้นตอนต่างๆ อันมีข้อธรรมเป็นลักษณะคือ จากข้อหนึ่งถึงสิบข้อ
๒ ) เคยยะ คือ คำสอนที่เป็นลักษณะทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองผสมกัน ได้แก่พระสูตรที่มีคาถาทั้งหมด
๓ ) เวยยากรณะ (ไวยากรณ์) คือคำสอนเป็นแบบร้อยแก้วล้วนได้แก่พระอภิธรรมปิฏกทั้งหมด และพระสูตรที่ไม่มีคาถา
๔ ) คาถา คือ คำสอนแบบร้อยกรองล้วนๆ เช่น ธรรมบท, เถรคาถา, เถรีคาถา
๕ ) อุทาน คือ คำสอนที่เปล่งออกมาเป็นคำที่มีความหมายต่างๆตามสถานการณ์นั้นๆ เช่น สมัยเกิดความสังเวช , สมัยเกิดความปีติยินดีบ้าง ซึ่งเป็นพระคาถา ๘๒ สูตร
๖. ) อิติวุตตกะ เป็นเรื่อง อ้างอิง คือการยกมากล่าวอ้างของพระสังคีติกาจารย์ผู้รวบรวมโดยไม่บอกว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องเหล่านี้แก่ใคร ที่ไหนชื่อพระสูตรเหล่านี้มักขึ้นต้นด้วยคำว่า วุตตัง เหตัง ภควตา (พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดังนี้) เหมือนกันหมด จึงเรียกว่า อิติวุตตกะ แบ่งเป็น ๔ นิบาตมีทั้งหมด ๑๑๒ สูตร
๗ ) ชาดก คือ คำสอนที่กล่าวถึงเรื่องที่เกิดขึ้นมาแล้วในอดีตทั้งที่เป็นเรื่องราวในอดีตของพระพุทธเจ้าบ้าง สาวกบ้าง เป็นธรรมภาษิตในลักษณะการเล่านิทานธรรมอยู่ในเรื่อง ส่วนมากจะเป็นนิบาตชาดก
๘. ) อัพภูตธรรม คือคำสอนที่เป็นเรื่องราวอันน่าอัศจรรย์ใจหรือเรื่องปาฏิหาริย์
๙. ) เวทัลละ คือคำสอนที่สูงขึ้นไปตามลำดับ อาศัยการวิเคราะห์แยกแยะความหมายอย่างละเอียด เช่นพระอภิธรรมเป็นต้น
๒ ลักษณะทางเนื้อหา
เมื่อพิจารณาถึงเนื้อหาและความหมายของพุทธธรรมแล้วอาจแบ่งได้ ๒ ลักษณะด้วยกัน คือ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวงและสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอน
๒.๑ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวง
ตามนัยนี้ มีความหมายปกคลุมทุกสิ่งทุกอย่างในจักรวาล รวมทั้งสิ่งที่เป็น สังขตะและอสังขตะ ทั้งที่เป็นรูปและเป็นนาม ทั้งส่วนที่เป็นโลกีย์และโลกุตตร๑
สังขตธรรม ได้แก่สิ่งทั้งปวงที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ซึ่งอาจทราบได้ในลักษณะต่อไปนี้ “มีเกิดขึ้นในเบื้องต้น เปลี่ยนแปลงไปในท่ามกลางและแตกดับไปในที่สุด”๒ อสังขตธรรมนี้ได้แก่พระนิพพาน อันเป็นความดับทุกข์โดยเด็ดขาด ไม่มีเหตุไม่มีปัจจัยอะไรปรุงแต่งได้เลย แต่มีลักษณะให้ทราบได้ ๓ ประการ คือ “ไม่เกิดขึ้นปรากฏ ไม่ดับไปปรากฎ และขณะที่ดำรงอยู่ก็ไม่มีความเปลี่ยนแปลงปรากฏ” ๓
มีข้อที่ควรทราบอีกอย่างหนึ่งคือ สังขตธรรมนั้นหมายเอาทั้งโลกุตตรธรรม ๘ ประการ อันมีมรรค ๔ ผล ๔ ด้วย ส่วนอสังขตธรรมหมายเอาพระนิพพานอย่างเดียว ซึ่งก็จัดว่าเป็นโลกุตตรธรรมเหมือนกัน ในพุทธศาสนาได้กล่าวถึงลักษณะของสิ่งทั้งปวงไว้หลายอย่าง เช่น ธรรมตา, ธรรมธาตุ, ธรรมฐิติตา, ธรรมนิยามตา, ซึ่งแต่ละคำก็เป็นเครื่องแสดงให้เห็นว่า พุทธธรรมะคือสิ่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ด้วยตัวเอง มีความถูกต้องและเป็นอิสระในตัวเองโดยสมบูรณ์ มันเป็นกฎของจักรวาลหรือเป็นกฎเกณฑ์อันหนึ่งของธรรมชาติ ซึ่งคงอยู่ชั่วนิรันด์และมิไดถูกสร้างขึ้นใหม่ เป็นสภาพที่มีอยู่อย่างนั้น พระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตาม มิได้ทรงอุบัติก็ตาม สภาวะที่เรียกว่า ธรรมะ นั้น ก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้เปลี่ยนแปลงอย่างอื่น ดังพุทธพจน์ตรัสว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งป่วงเป็นอนัตตา”๔
ทั้ง ๓ ลักษณะนี้เรียกว่ากฎของธรรมดาหรือธรรมชาติ ข้อหนึ่งและสองใช้กล่าวถึงธรรมชาติของสังขตธรรม คือธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ส่วนข้อสุดท้ายใช้กล่าวถึงธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตานั้นใช้กล่าวถึงทั้งสังขตธรรมและอสังขตธรรม ดังพุทธพจน์ที่มาในคัมภีร์อังคุตตรนิกาย เป็นหลักฐานยืนยันข้อความข้างบนนั้นได้เป็นอย่างดีคือ
“ตถาคตเจ้าจะอุบัติขึ้นก็ตาม จะไม่อุบัติขึ้นก็ตามธรรมเหล่านี้ก็คงอยู่อย่านั้น ตั้งอยู่อย่างนั้น และเป็นอยู่อย่างนั้น คือสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ธรรมเหล่านี้ตถาคตได้รู้แจ้งแทงตลอดด้วยตนเองแล้วจึงได้นำมาประกาศแก่คนอื่น”
ได้ความว่าทั้งสังขตธรรมและสังขตธรรมที่กล่าวมานั้นรวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงอันเป็นสภาวะที่มีอยู่เดิม และคงอยู่อย่างนั้นพระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตามไม่ทรงอุบัติขึ้นก็ตาม จะรู้หรือไม่รู้ก็ตาม สภาวะนั้นก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้ถูกสร้างขึ้นมิได้ถูกทำลายโดยผู้ใดผู้หนึ่ง พระพุทธเจ้ามิได้เป็นผู้สร้างขึ้น เป็นเพียงผู้ค้นพบแล้วนำมาสอนคนอื่นเท่านั้นดังพุทธพจน์ว่า “พวกเธอจงพยายามทำความเพียรบากบั่นเองเถิด เราตถาคตเป็น แต่ผู้บอกแนวทางให้เท่านั้น”๕
๒.๒.ลักษณะที่เป็นคำสอน
ลักษณะคำสอนนี้ก็รวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงนั้นเอง พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอย่างไรหรือมีอะไรที่พระพุทธองค์ทรงสอน และมีสิ่งใดที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงสั่งสอน พระพุทธเจ้าทรงรู้ทุกสิ่งทุกอย่างจึงมีพระนามว่า สัพพัญญู แต่พระองค์มิได้ทรงสอนทุกอย่างที่พระองค์ตรัสรู้ ทรงสั่งสอนเฉพาะสิ่งที่จำเป็นในการปฏิบัติ เพื่อความพ้นทุกข์เท่านั้น
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหมดรวมอยู่ในคำว่า ธรรมหรือคำว่าศาสนาซึ่งหมายเอาทั้งปริยัติ (ทฤษฎี)และปฏิบัติ และปฏิเวธคือการรู้แจ้งแทงตลอดด้วย จะเห็นได้ว่าพุทธภาษิตนั้นเป็นคติเตือนใจของพุทธศาสนิกชนได้ จนบางครั้งสามารถเป็นกำลังใจและสามารถมีผลทำให้คนหยุดกระทำความชั่วได้นอกจากนั้นสุภาษิตก็ยังได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็นพระธรรมวินัย เป็นที่พึ่งแทนพระองค์สมดังพุทธวจนะมาในมหาปรินิพพานสูตรความว่า
“อานนท์ พวกเธอทั้งหลายอาจจะคิดว่า พระธรรมวินัยมีพระศาสดาล่วงลับไปแล้ว พระศาสดาของพวกเราไม่มีแล้ว, อานนท์ พวกเธอทั้งหลายไม่ควรเข้าใจอย่างนั้นแล้ว สำหรับพวกเธอทั้งหลายนั่นแล จักเป็นศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย ในเมื่อเราตถาคตล่วงลับไปแล้ว”๖
พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรมแก่ประชาชนด้วยวิธี ๓ อย่างด้วยกัน และวิธีการทั้ง ๓ นี้ถือว่าเป็นหลักการสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งมีข้อดังนี้๗
๑) พระองค์ทรงสั่งสอนเพื่อให้ผู้ฟังรู้ยิ่งเห็นจริงในธรรมที่ควรรู้ควรเห็น
๒) ทรงสั่งสอนมีเหตุผลที่ผู้ฟังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้
๓) ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์คือผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่การปฏิบัติ
อีกนัยหนึ่งเนื้อหาสาระแห่งพระโอวาทที่พระองค์ทรงประทานแก่พุทธบริษัทเสมอๆนั้น ประมวลลงในหลักการ ๓ อย่างคือ๘
๑ ) สั่งสอนให้เว้นจากการทำบาปทั้งปวง ทุจริต
๒) สั่งสอนให้ทำกุศลทั้งปวง
๓) ทำจิตให้ผ่องแผ้ว
ในคัมภีร์ทีฆนิกายกล่าวยืนยันถึงสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธปัญหาทางอภิปรัชญา ๑๐ ประการเรียกว่า อพยากตปัญหาหรือปัญหาโลกแตก แต่พระองค์ทรงตรัสสอนอริยสัจ ๔ ประการเป็นคำสอนของพระองค์ คือ เรื่องทุกข์ เหตุให้ทุกข์เกิด ความดับทุกข์ และทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์เป็นคำสอนของเราตถาคต โปฏฐปาทะทูลถามต่อไปอีกว่าเพราะเหตุใดพระองค์จึงทรงสอนสิ่งเหล่านี้ พระพุทธเจ้าทรงตรัสอรรถาธิบายต่อไปอีกความว่า
“ที่เราสอนเรื่องนี้ เพราะมันเป็นประโยชน์ เป็นความจริง เป็นวิถีแห่งชีวิตอันประเสริฐ ไม่ติดอยู่ในโลก เป็นไปเพื่อดับตัณหา เป็นไปเพื่อความสงบระงับใจ เป็นไปเพื่อความรู้แจ้งเห็นจริง และเป็นไปเพื่อพระนิพพาน ดังนั้นเราจึงได้นำมาสอนแก่สาวกทั้งหลาย”๙
จากพุทธพจน์นี้ชี้ให้เห็นว่า อริยสัจ ๔ เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือเป็นคำสอนที่พระองค์ทรงเน้นให้เห็นถึงปัณหาชีวิตในปัจจุบันที่มนุษย์ทุกรูปทุกนามประสบอยู่สิ่งนั้นคือ ทุกข์ พระพุทธเจ้าทรงเห็นว่า ชีวิตเต็มไปด้วยทุกข์ในบางครั้งที่รู้สึกว่าเป็นสุขนั้นเป็นเพียงความหลงเท่านั้น ที่แท้แล้วสิ่งที่เรียกว่าสุขนั้น ก็คือความทุกข์นั้นเอง ทุกข์ดังกล่าวนี้เกิดมาจากตัณหา เมื่อไม่มีตัณหาก็ไม่มีทุกข์อีกต่อไป พุทธภาษิตแล้วมีลักษณะทางคำสอนดังนี้คือ
๑ )หลักคำสอนในพุทธศาสนา เป็นหลักธรรมทางเสรีภาพที่เก่าแก่ที่สุดในโลก มีหลักการและวิธีการอันไม่ประกอบด้วยกาลเวลา เมื่อบุคคลประพฤติปฏิบัติตามย่อมได้ผลทันตา
๒ ) พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนให้เลิกละความเป็นทาสภายในใจตนเองนั้นคือ โลภะ โทสะ โมหะ
๓.) พุทธองค์ทรงสอนให้มนุษย์ทั้งปวงอยู่กันด้วยความมีเสรีภาพไม่เบียดเบียนกัน ให้เลิกดูหมิ่นกัน เพราะถือชาติ วรรณะ โคตร โดยมองให้เห็นว่าเป็นแก่นสารแห่งชีวิต แต่กลับสอนให้มนุษย์มองถึงฝ่ายใน คือความมีศีลธรรมเป็นเกณฑ์ในการตัดสิ้นคนดีหรือชั่ว
๔.) หลักคำสอนของพระพุทธเจ้าสั่งสอนให้มนุษย์รู้จักการเสียสละ การเว้นการฆ่าสัตว์ตลอดถึงการทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน พุทธภาษิตเน้นวิธีการให้เกิดความสังคมสงเคราะห์ แทนการเอาเปรียบกันและกัน และสอนให้หันมาชำระจิตใจให้บริสุทธิ์สะอาดแทนซึ่งเป็นการทำบุญที่สูงสุด
๕ ) พุทธพุทธเจ้ามุ่งสั่งสอนวิธีตรงเข้าหาความจริงและให้รู้จักกับความเป็นจริงของชีวิต โดยมองว่าชีวิตมนุษย์มีความเกิดแก่เจ็บตาย เป็นกฎแห่งพระไตรลักษณ์ รวมทั้งสอนให้รู้จักดำเนินชีวิตให้ตรงไปตรงมาไม่ควรเชื้อเรื่องฤกษ์ยาม น้ำศักดิ์สิทธิ์ แต่กับสอนให้รู้จักทำช่วยตนเองเป็นหลักสำคัญ และสอนให้มนุษย์เข้าใจถึงการเกิดในภพต่างๆ เพราะแรงแห่งตัณหาเป็นปัจจัย
๖.) พุทธภาษิต เป็นวิธีการสอนให้แก้ความเสื่อมทางศีลธรรม โดยไม่มองข้ามปัญหาทางเศรษฐกิจ สอนให้แก้ความชั่วด้วยความความดี สอนให้แก้ที่ตัวเราเองก่อน โดยไม่คอยเกี่ยงให้คนทั้งโลกดีหมดแล้วจึงจะดีเป็นคนสุดท้าย
๗ ) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์ตระหนักถึงเรื่องของสติปัญญาในการดำเนินชีวิต โดยให้ใช้ความรอบคอบในการแก้ไขปัญหา ด้วยการพิจารณาให้เห็นสาเหตุแห่งทุกข์ แล้วแก้ไขให้ตรงจุด ไม่ให้เชื้ออย่างงายไร้เหตุผล
๘ ) พุทธภาษิตมุ่งเน้นให้มนุษย์ยึดถือธรรมเป็นใหญ่ เรียกว่าธรรมาธิปไตย ไม่ให้ยึดถือตนเป็นสำคัญ และให้ถือการปฏิบัติเป็นสำคัญในการบูชา
๙.) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์พยายามพึ่งตนเอง และฝึกฝนตนเองมากกว่าพึงพาผู้อื่น เพื่อยกระดับชีวิตตนเองให้ก้าวหน้า ไม่สอนให้รอการอ้อนวอนบวงสรวงจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และยึดหลักว่ามนุษย์มีกรรมเป็นของๆตน ด้วยการทำดีได้ดีนั้นเอง
๑๐ ) พุทธภาษิตพยายามไม่สอนให้พุทธบริษัทอย่าเชื้อถือสิ่งได้ด้วยการเด่า แต่ให้เชื่อหลักของพุทธศาสนาที่มีหลักการดีกว่า
๑๑ ) พุทธภาษิตเสนอหลักการให้มนุษย์ทำความดีงามเพราะเห็นแก่ความดี ไม่ทำความดีเพื่อมุ่งลาภ ยศ สรรเสริญ และพุทธศาสนาก็มีหลักการที่พิสูจน์ได้ทุกสมัย
๑๒ ) พุทธภาษิตต้องการให้มีความขยันหมั่นเพียร ไม่เกียจคร้าน ยิ่งเป็นฆราวาสย่อมต้องใช้หลักธรรมนี้ให้มาก เพราะการครองเรือนที่มีความสุขได้ต้องมีทรัพย์เป็นเครื่องค้ำจุน จึงจะตั้งตัวได้ดี
๑๓ ) พุทธภาษิตต้องการให้เอาชนะความชั่วด้วยความดี ให้ระงับการจองเวรต่อกัน และอย่าได้ก่อความวุ่นวายให้แก่ผู้อื่น ให้รู้จักการผูกไมตรีต่อกัน โดยการเอื้อเพื้อเผือแผ่แก่กันและกันคือสละสุขส่วนตนเพื่อประโยชน์สุขแก่มหาชน สละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ สละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิตและสุดท้ายก็สละชีวิตเพื่อรักษาธรรม
๑๔ ) พุทธภาษิตต้องการสอนให้มนุษย์มีความอดทน ต่อสู้กับความลำบากต่างๆเพื่อเอาชนะอุปสรรคทั้งหลาย ไม่เป็นคนอ่อนแอ และขณะเดียวเมื่อมีความสุขก็อย่าได้หลง ให้ตั้งตนอยู่ในความไม่ประมาท ชีวิตจึงจะพบกับความสุข ดังนั้นพุทธภาษิตก็ยังพยายามให้คนรู้จักรักษากายวาจาและใจของตนให้เป็นปกติ
๑๕ ) พุทธภาษิตต้องการเสื่อให้เห็นหลักการปกครองที่เป็นธรรม โดยยึดหลักความละอายต่อความบาป และความชั่วทั้งหลาย ทั้งผู้นำรัฐและผู้ปกครองในระดับท้องถิ่นควรมีหลักธรรมอย่างนี้ พุทธศาสนาสอนให้รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น อย่าดูหมิ่นผู้อื่นเพราะชาติตระกูล เพราะทรัพย์ และอย่ามีอคติต่อกัน เจ้านายก็ให้รู้จักใช้บ่าว ตลอดถึงการรู้จักเลือกคบกับมิตรที่ดี เว้นบาปมิตร
๑๖ ) พุทธภาษิตสอนให้ใช้ปัญญานำหน้าในการดำเนินชีวิต และสอนให้รู้จักการศึกษา เข้าหาผู้เป็นบัณฑิต และเว้นพาลชน เพื่อความก้าวหน้าแห่งตน และสอนให้รู้จักแบ่งปันกันเพื่อความผาสุขแห่งสังคม และอย่าได้ก่อศัตรูขึ้นมาโดยถือว่ามนุษย์ทุกคนไม่มีดีที่สมบูรณ์ แต่ให้มองหาความดีของผู้อื่น และสอนให้มองดูธรรมชาติโดยความเป็นจริง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงจะได้ไม่เป็นทุกข์ และต้องพยายามเดินตามแนวทางสายกลางย่อมเป็นประตนและผู้อื่นตลอดถึงประโยชน์สูงสุดคือพระนิพพาน
๑๗. ) พุทธภาษิตสอนให้ยึดปรมัตถ์ประโยชน์ อย่าหลงในสิ่งอันเป็นสิ่งสมมติอันเป็นสิ่งบัญญัติ แต่ดูโดยรู้เท่าทัน พยายามใช้ปัญญาเป็นเครื่องส่องทางแห่งชีวิตตน พุทธภาษิตสอนให้รู้จักตอบแทนผู้มีพระคุณว่าเป็นสิ่งมงคล และสอนให้รู้จักหลักการดำเนินไปสู่พระนิพพาน ว่าเป็นยอดแห่งความสุข
เป็นคำสอนที่ให้คติธรรมอันลึกซึ้งแก่ชาวอีสานมาอย่างยาวนาน และเป็นคำสอนในลักษณะเปรียบเทียบ หรือให้ชี้ให้เห็นสัจจธรรมในการดำเนินชีวิต ผญาภาษิตอีสานมีรากฐานมาจากคำสอนในทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะพุทธศาสนสุภาษิตที่มีอิทพลต่อคำผญาภาษิตอีสานเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะคนอีสานนิยมสอนบุตรธิดาของตนโดยทางอ้อม ไม่ได้สอนโดยทางตรง เมื่อท่านจะสอนในเรื่องใดท่านมักจะผูกเป็นคำอุปมาอุปไมย โดยกล่าวถึงข้อเท็จจริงคือความเป็นอยู่และกิริยาอาการหรือความประพฤติของคนหรือสัตว์ ไม่ว่าในทางดีหรือทางชั่วอันเป็นไปในทางรูปธรรม เพื่อให้เกิดแง่คิดในทางนามธรรมเป็นข้อเปรียบเทียบกับรูปธรรม ผญาภาษิตนี้ส่วนมาจากคำสอนในหนังสือวรรณคดีเรื่องต่างๆ
สุภาษิตอีสานโดยภาพรวมจึงเกิดมาจากวรรณคดีทั้งทางศาสนาและประเพณีวัฒธรรมของชาวอีสานเป็นส่วนใหญ่ เพราะวรรณกรรมทางภาษาซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตน คือใช้วรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายเป็นสื่อในการสั่งสอนจริยธรรมตลอดถึงวิถีดำเนินชีวิต ตามความเชื่อและมีการตัดสินความดีความชั่วในสังคมด้วย ดังนั้นสุภาษิตอันเกิดจากวรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายจึงเป็นภาพสะท้อนถึงชีวิตคนและสังคมชาวอีสาน พอจะนำมากล่าวถึงมี ๔ ประการใหญ่ดังนี้ คือ
๒.๑.๒ ลักษณะของพุทธภาษิต
ลักษณะทั่วไปของพุทธศาสนสุภาษิตนั้นจัดแบ่งได้ ๒ ลักษณะ คือ ๑. ลักษณะทางฉันทลักษณ์ ๒. ลักษณะทางเนื้อหา
๑. ลักษณะทางฉันลักษณ์
เป็นคำร้อยกรองในภาษาบาลีเรียกว่า ฉันทลักษณะ เป็นคำประพันธ์ที่กำหนด ครุ ลหุ กำหนดจำนวนคำตามข้อบังคับของฉันท์แต่ละชนิด ฉันท์ ๑ บท เรียกว่า ๑ คาถา ฉันท์ ๑ คาถา มี ๔ บาท ฉันท์ ๑ บาทมี ๘ คำ ไม่เกิด ๑๑ คำ หรือ ๑๔ คำ ตามประเภทของฉันท์ นี้เป็นฉันท์ประเภทหนึ่งที่เรียนรู้และรู้จักกันเป็นอย่างดีในวงการภาษาบาลีในประเทศไทย ๖ ชนิด๕ คือ (๑ ) ปัฐยาวัตรฉันท์ (๒) อินทรวิเชียรฉันท์ (๓) อุเปนทรวิเชียรฉันท์ (๔) อินทรวงศ์ฉันท์ (๕) วังสัฏฐฉันท์ (๖) วสันตดิลกฉันท์
อีกนัยหนึ่งแบ่งตามลักษณะของวิธีการสอนของพระพุทธเจ้า ลักษณะเนื้อหาของพุทธภาษิต ผู้เชียวชาญทั้งหลายได้แบ่งเนื้อหาของสุภาษิตในพระพุทธศาสนาออกเป็นประเภทต่างๆ ตามลักษณะของรูปแบบคำสอนในพุทธศาสนาเรียกอีกอย่างว่า “นวังคสัตถุศาสตร์”๖ คือคำสอนของพระศาสดามีองค์ ๙ พุทธพจน์มีองค์ประกอบ ๙ อย่าง คือ
๑ ) สุตะ คือคำสั่งสอนที่เป็นพระสูตรและพระวินัย รวมทั้งคัมภีร์ทั้งสองด้วยโดยมีลักษณะเป็นสูตร ซึ่งประกอบไปด้วยระเบียบแบบแผนมีลำดับขั้นตอนต่างๆ อันมีข้อธรรมเป็นลักษณะคือ จากข้อหนึ่งถึงสิบข้อ
๒ ) เคยยะ คือ คำสอนที่เป็นลักษณะทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองผสมกัน ได้แก่พระสูตรที่มีคาถาทั้งหมด
๓ ) เวยยากรณะ (ไวยากรณ์) คือคำสอนเป็นแบบร้อยแก้วล้วนได้แก่พระอภิธรรมปิฏกทั้งหมด และพระสูตรที่ไม่มีคาถา
๔ ) คาถา คือ คำสอนแบบร้อยกรองล้วนๆ เช่น ธรรมบท, เถรคาถา, เถรีคาถา
๕ ) อุทาน คือ คำสอนที่เปล่งออกมาเป็นคำที่มีความหมายต่างๆตามสถานการณ์นั้นๆ เช่น สมัยเกิดความสังเวช , สมัยเกิดความปีติยินดีบ้าง ซึ่งเป็นพระคาถา ๘๒ สูตร
๖. ) อิติวุตตกะ เป็นเรื่อง อ้างอิง คือการยกมากล่าวอ้างของพระสังคีติกาจารย์ผู้รวบรวมโดยไม่บอกว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องเหล่านี้แก่ใคร ที่ไหนชื่อพระสูตรเหล่านี้มักขึ้นต้นด้วยคำว่า วุตตัง เหตัง ภควตา (พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดังนี้) เหมือนกันหมด จึงเรียกว่า อิติวุตตกะ แบ่งเป็น ๔ นิบาตมีทั้งหมด ๑๑๒ สูตร
๗ ) ชาดก คือ คำสอนที่กล่าวถึงเรื่องที่เกิดขึ้นมาแล้วในอดีตทั้งที่เป็นเรื่องราวในอดีตของพระพุทธเจ้าบ้าง สาวกบ้าง เป็นธรรมภาษิตในลักษณะการเล่านิทานธรรมอยู่ในเรื่อง ส่วนมากจะเป็นนิบาตชาดก
๘. ) อัพภูตธรรม คือคำสอนที่เป็นเรื่องราวอันน่าอัศจรรย์ใจหรือเรื่องปาฏิหาริย์
๙. ) เวทัลละ คือคำสอนที่สูงขึ้นไปตามลำดับ อาศัยการวิเคราะห์แยกแยะความหมายอย่างละเอียด เช่นพระอภิธรรมเป็นต้น
๒ ลักษณะทางเนื้อหา
เมื่อพิจารณาถึงเนื้อหาและความหมายของพุทธธรรมแล้วอาจแบ่งได้ ๒ ลักษณะด้วยกัน คือ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวงและสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอน
๒.๑ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวง
ตามนัยนี้ มีความหมายปกคลุมทุกสิ่งทุกอย่างในจักรวาล รวมทั้งสิ่งที่เป็น สังขตะและอสังขตะ ทั้งที่เป็นรูปและเป็นนาม ทั้งส่วนที่เป็นโลกีย์และโลกุตตร๑
สังขตธรรม ได้แก่สิ่งทั้งปวงที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ซึ่งอาจทราบได้ในลักษณะต่อไปนี้ “มีเกิดขึ้นในเบื้องต้น เปลี่ยนแปลงไปในท่ามกลางและแตกดับไปในที่สุด”๒ อสังขตธรรมนี้ได้แก่พระนิพพาน อันเป็นความดับทุกข์โดยเด็ดขาด ไม่มีเหตุไม่มีปัจจัยอะไรปรุงแต่งได้เลย แต่มีลักษณะให้ทราบได้ ๓ ประการ คือ “ไม่เกิดขึ้นปรากฏ ไม่ดับไปปรากฎ และขณะที่ดำรงอยู่ก็ไม่มีความเปลี่ยนแปลงปรากฏ” ๓
มีข้อที่ควรทราบอีกอย่างหนึ่งคือ สังขตธรรมนั้นหมายเอาทั้งโลกุตตรธรรม ๘ ประการ อันมีมรรค ๔ ผล ๔ ด้วย ส่วนอสังขตธรรมหมายเอาพระนิพพานอย่างเดียว ซึ่งก็จัดว่าเป็นโลกุตตรธรรมเหมือนกัน ในพุทธศาสนาได้กล่าวถึงลักษณะของสิ่งทั้งปวงไว้หลายอย่าง เช่น ธรรมตา, ธรรมธาตุ, ธรรมฐิติตา, ธรรมนิยามตา, ซึ่งแต่ละคำก็เป็นเครื่องแสดงให้เห็นว่า พุทธธรรมะคือสิ่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ด้วยตัวเอง มีความถูกต้องและเป็นอิสระในตัวเองโดยสมบูรณ์ มันเป็นกฎของจักรวาลหรือเป็นกฎเกณฑ์อันหนึ่งของธรรมชาติ ซึ่งคงอยู่ชั่วนิรันด์และมิไดถูกสร้างขึ้นใหม่ เป็นสภาพที่มีอยู่อย่างนั้น พระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตาม มิได้ทรงอุบัติก็ตาม สภาวะที่เรียกว่า ธรรมะ นั้น ก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้เปลี่ยนแปลงอย่างอื่น ดังพุทธพจน์ตรัสว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งป่วงเป็นอนัตตา”๔
ทั้ง ๓ ลักษณะนี้เรียกว่ากฎของธรรมดาหรือธรรมชาติ ข้อหนึ่งและสองใช้กล่าวถึงธรรมชาติของสังขตธรรม คือธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ส่วนข้อสุดท้ายใช้กล่าวถึงธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตานั้นใช้กล่าวถึงทั้งสังขตธรรมและอสังขตธรรม ดังพุทธพจน์ที่มาในคัมภีร์อังคุตตรนิกาย เป็นหลักฐานยืนยันข้อความข้างบนนั้นได้เป็นอย่างดีคือ
“ตถาคตเจ้าจะอุบัติขึ้นก็ตาม จะไม่อุบัติขึ้นก็ตามธรรมเหล่านี้ก็คงอยู่อย่านั้น ตั้งอยู่อย่างนั้น และเป็นอยู่อย่างนั้น คือสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ธรรมเหล่านี้ตถาคตได้รู้แจ้งแทงตลอดด้วยตนเองแล้วจึงได้นำมาประกาศแก่คนอื่น”
ได้ความว่าทั้งสังขตธรรมและสังขตธรรมที่กล่าวมานั้นรวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงอันเป็นสภาวะที่มีอยู่เดิม และคงอยู่อย่างนั้นพระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตามไม่ทรงอุบัติขึ้นก็ตาม จะรู้หรือไม่รู้ก็ตาม สภาวะนั้นก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้ถูกสร้างขึ้นมิได้ถูกทำลายโดยผู้ใดผู้หนึ่ง พระพุทธเจ้ามิได้เป็นผู้สร้างขึ้น เป็นเพียงผู้ค้นพบแล้วนำมาสอนคนอื่นเท่านั้นดังพุทธพจน์ว่า “พวกเธอจงพยายามทำความเพียรบากบั่นเองเถิด เราตถาคตเป็น แต่ผู้บอกแนวทางให้เท่านั้น”๕
๒.๒.ลักษณะที่เป็นคำสอน
ลักษณะคำสอนนี้ก็รวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงนั้นเอง พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอย่างไรหรือมีอะไรที่พระพุทธองค์ทรงสอน และมีสิ่งใดที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงสั่งสอน พระพุทธเจ้าทรงรู้ทุกสิ่งทุกอย่างจึงมีพระนามว่า สัพพัญญู แต่พระองค์มิได้ทรงสอนทุกอย่างที่พระองค์ตรัสรู้ ทรงสั่งสอนเฉพาะสิ่งที่จำเป็นในการปฏิบัติ เพื่อความพ้นทุกข์เท่านั้น
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหมดรวมอยู่ในคำว่า ธรรมหรือคำว่าศาสนาซึ่งหมายเอาทั้งปริยัติ (ทฤษฎี)และปฏิบัติ และปฏิเวธคือการรู้แจ้งแทงตลอดด้วย จะเห็นได้ว่าพุทธภาษิตนั้นเป็นคติเตือนใจของพุทธศาสนิกชนได้ จนบางครั้งสามารถเป็นกำลังใจและสามารถมีผลทำให้คนหยุดกระทำความชั่วได้นอกจากนั้นสุภาษิตก็ยังได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็นพระธรรมวินัย เป็นที่พึ่งแทนพระองค์สมดังพุทธวจนะมาในมหาปรินิพพานสูตรความว่า
“อานนท์ พวกเธอทั้งหลายอาจจะคิดว่า พระธรรมวินัยมีพระศาสดาล่วงลับไปแล้ว พระศาสดาของพวกเราไม่มีแล้ว, อานนท์ พวกเธอทั้งหลายไม่ควรเข้าใจอย่างนั้นแล้ว สำหรับพวกเธอทั้งหลายนั่นแล จักเป็นศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย ในเมื่อเราตถาคตล่วงลับไปแล้ว”๖
พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรมแก่ประชาชนด้วยวิธี ๓ อย่างด้วยกัน และวิธีการทั้ง ๓ นี้ถือว่าเป็นหลักการสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งมีข้อดังนี้๗
๑) พระองค์ทรงสั่งสอนเพื่อให้ผู้ฟังรู้ยิ่งเห็นจริงในธรรมที่ควรรู้ควรเห็น
๒) ทรงสั่งสอนมีเหตุผลที่ผู้ฟังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้
๓) ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์คือผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่การปฏิบัติ
อีกนัยหนึ่งเนื้อหาสาระแห่งพระโอวาทที่พระองค์ทรงประทานแก่พุทธบริษัทเสมอๆนั้น ประมวลลงในหลักการ ๓ อย่างคือ๘
๑ ) สั่งสอนให้เว้นจากการทำบาปทั้งปวง ทุจริต
๒) สั่งสอนให้ทำกุศลทั้งปวง
๓) ทำจิตให้ผ่องแผ้ว
ในคัมภีร์ทีฆนิกายกล่าวยืนยันถึงสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธปัญหาทางอภิปรัชญา ๑๐ ประการเรียกว่า อพยากตปัญหาหรือปัญหาโลกแตก แต่พระองค์ทรงตรัสสอนอริยสัจ ๔ ประการเป็นคำสอนของพระองค์ คือ เรื่องทุกข์ เหตุให้ทุกข์เกิด ความดับทุกข์ และทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์เป็นคำสอนของเราตถาคต โปฏฐปาทะทูลถามต่อไปอีกว่าเพราะเหตุใดพระองค์จึงทรงสอนสิ่งเหล่านี้ พระพุทธเจ้าทรงตรัสอรรถาธิบายต่อไปอีกความว่า
“ที่เราสอนเรื่องนี้ เพราะมันเป็นประโยชน์ เป็นความจริง เป็นวิถีแห่งชีวิตอันประเสริฐ ไม่ติดอยู่ในโลก เป็นไปเพื่อดับตัณหา เป็นไปเพื่อความสงบระงับใจ เป็นไปเพื่อความรู้แจ้งเห็นจริง และเป็นไปเพื่อพระนิพพาน ดังนั้นเราจึงได้นำมาสอนแก่สาวกทั้งหลาย”๙
จากพุทธพจน์นี้ชี้ให้เห็นว่า อริยสัจ ๔ เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือเป็นคำสอนที่พระองค์ทรงเน้นให้เห็นถึงปัณหาชีวิตในปัจจุบันที่มนุษย์ทุกรูปทุกนามประสบอยู่สิ่งนั้นคือ ทุกข์ พระพุทธเจ้าทรงเห็นว่า ชีวิตเต็มไปด้วยทุกข์ในบางครั้งที่รู้สึกว่าเป็นสุขนั้นเป็นเพียงความหลงเท่านั้น ที่แท้แล้วสิ่งที่เรียกว่าสุขนั้น ก็คือความทุกข์นั้นเอง ทุกข์ดังกล่าวนี้เกิดมาจากตัณหา เมื่อไม่มีตัณหาก็ไม่มีทุกข์อีกต่อไป พุทธภาษิตแล้วมีลักษณะทางคำสอนดังนี้คือ
๑ )หลักคำสอนในพุทธศาสนา เป็นหลักธรรมทางเสรีภาพที่เก่าแก่ที่สุดในโลก มีหลักการและวิธีการอันไม่ประกอบด้วยกาลเวลา เมื่อบุคคลประพฤติปฏิบัติตามย่อมได้ผลทันตา
๒ ) พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนให้เลิกละความเป็นทาสภายในใจตนเองนั้นคือ โลภะ โทสะ โมหะ
๓.) พุทธองค์ทรงสอนให้มนุษย์ทั้งปวงอยู่กันด้วยความมีเสรีภาพไม่เบียดเบียนกัน ให้เลิกดูหมิ่นกัน เพราะถือชาติ วรรณะ โคตร โดยมองให้เห็นว่าเป็นแก่นสารแห่งชีวิต แต่กลับสอนให้มนุษย์มองถึงฝ่ายใน คือความมีศีลธรรมเป็นเกณฑ์ในการตัดสิ้นคนดีหรือชั่ว
๔.) หลักคำสอนของพระพุทธเจ้าสั่งสอนให้มนุษย์รู้จักการเสียสละ การเว้นการฆ่าสัตว์ตลอดถึงการทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน พุทธภาษิตเน้นวิธีการให้เกิดความสังคมสงเคราะห์ แทนการเอาเปรียบกันและกัน และสอนให้หันมาชำระจิตใจให้บริสุทธิ์สะอาดแทนซึ่งเป็นการทำบุญที่สูงสุด
๕ ) พุทธพุทธเจ้ามุ่งสั่งสอนวิธีตรงเข้าหาความจริงและให้รู้จักกับความเป็นจริงของชีวิต โดยมองว่าชีวิตมนุษย์มีความเกิดแก่เจ็บตาย เป็นกฎแห่งพระไตรลักษณ์ รวมทั้งสอนให้รู้จักดำเนินชีวิตให้ตรงไปตรงมาไม่ควรเชื้อเรื่องฤกษ์ยาม น้ำศักดิ์สิทธิ์ แต่กับสอนให้รู้จักทำช่วยตนเองเป็นหลักสำคัญ และสอนให้มนุษย์เข้าใจถึงการเกิดในภพต่างๆ เพราะแรงแห่งตัณหาเป็นปัจจัย
๖.) พุทธภาษิต เป็นวิธีการสอนให้แก้ความเสื่อมทางศีลธรรม โดยไม่มองข้ามปัญหาทางเศรษฐกิจ สอนให้แก้ความชั่วด้วยความความดี สอนให้แก้ที่ตัวเราเองก่อน โดยไม่คอยเกี่ยงให้คนทั้งโลกดีหมดแล้วจึงจะดีเป็นคนสุดท้าย
๗ ) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์ตระหนักถึงเรื่องของสติปัญญาในการดำเนินชีวิต โดยให้ใช้ความรอบคอบในการแก้ไขปัญหา ด้วยการพิจารณาให้เห็นสาเหตุแห่งทุกข์ แล้วแก้ไขให้ตรงจุด ไม่ให้เชื้ออย่างงายไร้เหตุผล
๘ ) พุทธภาษิตมุ่งเน้นให้มนุษย์ยึดถือธรรมเป็นใหญ่ เรียกว่าธรรมาธิปไตย ไม่ให้ยึดถือตนเป็นสำคัญ และให้ถือการปฏิบัติเป็นสำคัญในการบูชา
๙.) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์พยายามพึ่งตนเอง และฝึกฝนตนเองมากกว่าพึงพาผู้อื่น เพื่อยกระดับชีวิตตนเองให้ก้าวหน้า ไม่สอนให้รอการอ้อนวอนบวงสรวงจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และยึดหลักว่ามนุษย์มีกรรมเป็นของๆตน ด้วยการทำดีได้ดีนั้นเอง
๑๐ ) พุทธภาษิตพยายามไม่สอนให้พุทธบริษัทอย่าเชื้อถือสิ่งได้ด้วยการเด่า แต่ให้เชื่อหลักของพุทธศาสนาที่มีหลักการดีกว่า
๑๑ ) พุทธภาษิตเสนอหลักการให้มนุษย์ทำความดีงามเพราะเห็นแก่ความดี ไม่ทำความดีเพื่อมุ่งลาภ ยศ สรรเสริญ และพุทธศาสนาก็มีหลักการที่พิสูจน์ได้ทุกสมัย
๑๒ ) พุทธภาษิตต้องการให้มีความขยันหมั่นเพียร ไม่เกียจคร้าน ยิ่งเป็นฆราวาสย่อมต้องใช้หลักธรรมนี้ให้มาก เพราะการครองเรือนที่มีความสุขได้ต้องมีทรัพย์เป็นเครื่องค้ำจุน จึงจะตั้งตัวได้ดี
๑๓ ) พุทธภาษิตต้องการให้เอาชนะความชั่วด้วยความดี ให้ระงับการจองเวรต่อกัน และอย่าได้ก่อความวุ่นวายให้แก่ผู้อื่น ให้รู้จักการผูกไมตรีต่อกัน โดยการเอื้อเพื้อเผือแผ่แก่กันและกันคือสละสุขส่วนตนเพื่อประโยชน์สุขแก่มหาชน สละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ สละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิตและสุดท้ายก็สละชีวิตเพื่อรักษาธรรม
๑๔ ) พุทธภาษิตต้องการสอนให้มนุษย์มีความอดทน ต่อสู้กับความลำบากต่างๆเพื่อเอาชนะอุปสรรคทั้งหลาย ไม่เป็นคนอ่อนแอ และขณะเดียวเมื่อมีความสุขก็อย่าได้หลง ให้ตั้งตนอยู่ในความไม่ประมาท ชีวิตจึงจะพบกับความสุข ดังนั้นพุทธภาษิตก็ยังพยายามให้คนรู้จักรักษากายวาจาและใจของตนให้เป็นปกติ
๑๕ ) พุทธภาษิตต้องการเสื่อให้เห็นหลักการปกครองที่เป็นธรรม โดยยึดหลักความละอายต่อความบาป และความชั่วทั้งหลาย ทั้งผู้นำรัฐและผู้ปกครองในระดับท้องถิ่นควรมีหลักธรรมอย่างนี้ พุทธศาสนาสอนให้รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น อย่าดูหมิ่นผู้อื่นเพราะชาติตระกูล เพราะทรัพย์ และอย่ามีอคติต่อกัน เจ้านายก็ให้รู้จักใช้บ่าว ตลอดถึงการรู้จักเลือกคบกับมิตรที่ดี เว้นบาปมิตร
๑๖ ) พุทธภาษิตสอนให้ใช้ปัญญานำหน้าในการดำเนินชีวิต และสอนให้รู้จักการศึกษา เข้าหาผู้เป็นบัณฑิต และเว้นพาลชน เพื่อความก้าวหน้าแห่งตน และสอนให้รู้จักแบ่งปันกันเพื่อความผาสุขแห่งสังคม และอย่าได้ก่อศัตรูขึ้นมาโดยถือว่ามนุษย์ทุกคนไม่มีดีที่สมบูรณ์ แต่ให้มองหาความดีของผู้อื่น และสอนให้มองดูธรรมชาติโดยความเป็นจริง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงจะได้ไม่เป็นทุกข์ และต้องพยายามเดินตามแนวทางสายกลางย่อมเป็นประตนและผู้อื่นตลอดถึงประโยชน์สูงสุดคือพระนิพพาน
๑๗. ) พุทธภาษิตสอนให้ยึดปรมัตถ์ประโยชน์ อย่าหลงในสิ่งอันเป็นสิ่งสมมติอันเป็นสิ่งบัญญัติ แต่ดูโดยรู้เท่าทัน พยายามใช้ปัญญาเป็นเครื่องส่องทางแห่งชีวิตตน พุทธภาษิตสอนให้รู้จักตอบแทนผู้มีพระคุณว่าเป็นสิ่งมงคล และสอนให้รู้จักหลักการดำเนินไปสู่พระนิพพาน ว่าเป็นยอดแห่งความสุข
ຜຍາພາສິດ
๔ ) ผญาภาษิต
เป็นคำสอนที่ให้คติธรรมอันลึกซึ้งแก่ชาวอีสานมาอย่างยาวนาน และเป็นคำสอนในลักษณะเปรียบเทียบ หรือให้ชี้ให้เห็นสัจจธรรมในการดำเนินชีวิต ผญาภาษิตอีสานมีรากฐานมาจากคำสอนในทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะพุทธศาสนสุภาษิตที่มีอิทพลต่อคำผญาภาษิตอีสานเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะคนอีสานนิยมสอนบุตรธิดาของตนโดยทางอ้อม ไม่ได้สอนโดยทางตรง เมื่อท่านจะสอนในเรื่องใดท่านมักจะผูกเป็นคำอุปมาอุปไมย โดยกล่าวถึงข้อเท็จจริงคือความเป็นอยู่และกิริยาอาการหรือความประพฤติของคนหรือสัตว์ ไม่ว่าในทางดีหรือทางชั่วอันเป็นไปในทางรูปธรรม เพื่อให้เกิดแง่คิดในทางนามธรรมเป็นข้อเปรียบเทียบกับรูปธรรม ผญาภาษิตนี้ส่วนมาจากคำสอนในหนังสือวรรณคดีเรื่องต่างๆ
สุภาษิตอีสานโดยภาพรวมจึงเกิดมาจากวรรณคดีทั้งทางศาสนาและประเพณีวัฒธรรมของชาวอีสานเป็นส่วนใหญ่ เพราะวรรณกรรมทางภาษาซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตน คือใช้วรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายเป็นสื่อในการสั่งสอนจริยธรรมตลอดถึงวิถีดำเนินชีวิต ตามความเชื่อและมีการตัดสินความดีความชั่วในสังคมด้วย ดังนั้นสุภาษิตอันเกิดจากวรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายจึงเป็นภาพสะท้อนถึงชีวิตคนและสังคมชาวอีสาน พอจะนำมากล่าวถึงมี ๔ ประการใหญ่ดังนี้ คือ
๒.๑.๒ ลักษณะของพุทธภาษิต
ลักษณะทั่วไปของพุทธศาสนสุภาษิตนั้นจัดแบ่งได้ ๒ ลักษณะ คือ ๑. ลักษณะทางฉันทลักษณ์ ๒. ลักษณะทางเนื้อหา
๑. ลักษณะทางฉันลักษณ์
เป็นคำร้อยกรองในภาษาบาลีเรียกว่า ฉันทลักษณะ เป็นคำประพันธ์ที่กำหนด ครุ ลหุ กำหนดจำนวนคำตามข้อบังคับของฉันท์แต่ละชนิด ฉันท์ ๑ บท เรียกว่า ๑ คาถา ฉันท์ ๑ คาถา มี ๔ บาท ฉันท์ ๑ บาทมี ๘ คำ ไม่เกิด ๑๑ คำ หรือ ๑๔ คำ ตามประเภทของฉันท์ นี้เป็นฉันท์ประเภทหนึ่งที่เรียนรู้และรู้จักกันเป็นอย่างดีในวงการภาษาบาลีในประเทศไทย ๖ ชนิด๕ คือ (๑ ) ปัฐยาวัตรฉันท์ (๒) อินทรวิเชียรฉันท์ (๓) อุเปนทรวิเชียรฉันท์ (๔) อินทรวงศ์ฉันท์ (๕) วังสัฏฐฉันท์ (๖) วสันตดิลกฉันท์
อีกนัยหนึ่งแบ่งตามลักษณะของวิธีการสอนของพระพุทธเจ้า ลักษณะเนื้อหาของพุทธภาษิต ผู้เชียวชาญทั้งหลายได้แบ่งเนื้อหาของสุภาษิตในพระพุทธศาสนาออกเป็นประเภทต่างๆ ตามลักษณะของรูปแบบคำสอนในพุทธศาสนาเรียกอีกอย่างว่า “นวังคสัตถุศาสตร์”๖ คือคำสอนของพระศาสดามีองค์ ๙ พุทธพจน์มีองค์ประกอบ ๙ อย่าง คือ
๑ ) สุตะ คือคำสั่งสอนที่เป็นพระสูตรและพระวินัย รวมทั้งคัมภีร์ทั้งสองด้วยโดยมีลักษณะเป็นสูตร ซึ่งประกอบไปด้วยระเบียบแบบแผนมีลำดับขั้นตอนต่างๆ อันมีข้อธรรมเป็นลักษณะคือ จากข้อหนึ่งถึงสิบข้อ
๒ ) เคยยะ คือ คำสอนที่เป็นลักษณะทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองผสมกัน ได้แก่พระสูตรที่มีคาถาทั้งหมด
๓ ) เวยยากรณะ (ไวยากรณ์) คือคำสอนเป็นแบบร้อยแก้วล้วนได้แก่พระอภิธรรมปิฏกทั้งหมด และพระสูตรที่ไม่มีคาถา
๔ ) คาถา คือ คำสอนแบบร้อยกรองล้วนๆ เช่น ธรรมบท, เถรคาถา, เถรีคาถา
๕ ) อุทาน คือ คำสอนที่เปล่งออกมาเป็นคำที่มีความหมายต่างๆตามสถานการณ์นั้นๆ เช่น สมัยเกิดความสังเวช , สมัยเกิดความปีติยินดีบ้าง ซึ่งเป็นพระคาถา ๘๒ สูตร
๖. ) อิติวุตตกะ เป็นเรื่อง อ้างอิง คือการยกมากล่าวอ้างของพระสังคีติกาจารย์ผู้รวบรวมโดยไม่บอกว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องเหล่านี้แก่ใคร ที่ไหนชื่อพระสูตรเหล่านี้มักขึ้นต้นด้วยคำว่า วุตตัง เหตัง ภควตา (พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดังนี้) เหมือนกันหมด จึงเรียกว่า อิติวุตตกะ แบ่งเป็น ๔ นิบาตมีทั้งหมด ๑๑๒ สูตร
๗ ) ชาดก คือ คำสอนที่กล่าวถึงเรื่องที่เกิดขึ้นมาแล้วในอดีตทั้งที่เป็นเรื่องราวในอดีตของพระพุทธเจ้าบ้าง สาวกบ้าง เป็นธรรมภาษิตในลักษณะการเล่านิทานธรรมอยู่ในเรื่อง ส่วนมากจะเป็นนิบาตชาดก
๘. ) อัพภูตธรรม คือคำสอนที่เป็นเรื่องราวอันน่าอัศจรรย์ใจหรือเรื่องปาฏิหาริย์
๙. ) เวทัลละ คือคำสอนที่สูงขึ้นไปตามลำดับ อาศัยการวิเคราะห์แยกแยะความหมายอย่างละเอียด เช่นพระอภิธรรมเป็นต้น
๒ ลักษณะทางเนื้อหา
เมื่อพิจารณาถึงเนื้อหาและความหมายของพุทธธรรมแล้วอาจแบ่งได้ ๒ ลักษณะด้วยกัน คือ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวงและสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอน
๒.๑ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวง
ตามนัยนี้ มีความหมายปกคลุมทุกสิ่งทุกอย่างในจักรวาล รวมทั้งสิ่งที่เป็น สังขตะและอสังขตะ ทั้งที่เป็นรูปและเป็นนาม ทั้งส่วนที่เป็นโลกีย์และโลกุตตร๑
สังขตธรรม ได้แก่สิ่งทั้งปวงที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ซึ่งอาจทราบได้ในลักษณะต่อไปนี้ “มีเกิดขึ้นในเบื้องต้น เปลี่ยนแปลงไปในท่ามกลางและแตกดับไปในที่สุด”๒ อสังขตธรรมนี้ได้แก่พระนิพพาน อันเป็นความดับทุกข์โดยเด็ดขาด ไม่มีเหตุไม่มีปัจจัยอะไรปรุงแต่งได้เลย แต่มีลักษณะให้ทราบได้ ๓ ประการ คือ “ไม่เกิดขึ้นปรากฏ ไม่ดับไปปรากฎ และขณะที่ดำรงอยู่ก็ไม่มีความเปลี่ยนแปลงปรากฏ” ๓
มีข้อที่ควรทราบอีกอย่างหนึ่งคือ สังขตธรรมนั้นหมายเอาทั้งโลกุตตรธรรม ๘ ประการ อันมีมรรค ๔ ผล ๔ ด้วย ส่วนอสังขตธรรมหมายเอาพระนิพพานอย่างเดียว ซึ่งก็จัดว่าเป็นโลกุตตรธรรมเหมือนกัน ในพุทธศาสนาได้กล่าวถึงลักษณะของสิ่งทั้งปวงไว้หลายอย่าง เช่น ธรรมตา, ธรรมธาตุ, ธรรมฐิติตา, ธรรมนิยามตา, ซึ่งแต่ละคำก็เป็นเครื่องแสดงให้เห็นว่า พุทธธรรมะคือสิ่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ด้วยตัวเอง มีความถูกต้องและเป็นอิสระในตัวเองโดยสมบูรณ์ มันเป็นกฎของจักรวาลหรือเป็นกฎเกณฑ์อันหนึ่งของธรรมชาติ ซึ่งคงอยู่ชั่วนิรันด์และมิไดถูกสร้างขึ้นใหม่ เป็นสภาพที่มีอยู่อย่างนั้น พระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตาม มิได้ทรงอุบัติก็ตาม สภาวะที่เรียกว่า ธรรมะ นั้น ก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้เปลี่ยนแปลงอย่างอื่น ดังพุทธพจน์ตรัสว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งป่วงเป็นอนัตตา”๔
ทั้ง ๓ ลักษณะนี้เรียกว่ากฎของธรรมดาหรือธรรมชาติ ข้อหนึ่งและสองใช้กล่าวถึงธรรมชาติของสังขตธรรม คือธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ส่วนข้อสุดท้ายใช้กล่าวถึงธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตานั้นใช้กล่าวถึงทั้งสังขตธรรมและอสังขตธรรม ดังพุทธพจน์ที่มาในคัมภีร์อังคุตตรนิกาย เป็นหลักฐานยืนยันข้อความข้างบนนั้นได้เป็นอย่างดีคือ
“ตถาคตเจ้าจะอุบัติขึ้นก็ตาม จะไม่อุบัติขึ้นก็ตามธรรมเหล่านี้ก็คงอยู่อย่านั้น ตั้งอยู่อย่างนั้น และเป็นอยู่อย่างนั้น คือสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ธรรมเหล่านี้ตถาคตได้รู้แจ้งแทงตลอดด้วยตนเองแล้วจึงได้นำมาประกาศแก่คนอื่น”
ได้ความว่าทั้งสังขตธรรมและสังขตธรรมที่กล่าวมานั้นรวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงอันเป็นสภาวะที่มีอยู่เดิม และคงอยู่อย่างนั้นพระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตามไม่ทรงอุบัติขึ้นก็ตาม จะรู้หรือไม่รู้ก็ตาม สภาวะนั้นก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้ถูกสร้างขึ้นมิได้ถูกทำลายโดยผู้ใดผู้หนึ่ง พระพุทธเจ้ามิได้เป็นผู้สร้างขึ้น เป็นเพียงผู้ค้นพบแล้วนำมาสอนคนอื่นเท่านั้นดังพุทธพจน์ว่า “พวกเธอจงพยายามทำความเพียรบากบั่นเองเถิด เราตถาคตเป็น แต่ผู้บอกแนวทางให้เท่านั้น”๕
๒.๒.ลักษณะที่เป็นคำสอน
ลักษณะคำสอนนี้ก็รวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงนั้นเอง พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอย่างไรหรือมีอะไรที่พระพุทธองค์ทรงสอน และมีสิ่งใดที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงสั่งสอน พระพุทธเจ้าทรงรู้ทุกสิ่งทุกอย่างจึงมีพระนามว่า สัพพัญญู แต่พระองค์มิได้ทรงสอนทุกอย่างที่พระองค์ตรัสรู้ ทรงสั่งสอนเฉพาะสิ่งที่จำเป็นในการปฏิบัติ เพื่อความพ้นทุกข์เท่านั้น
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหมดรวมอยู่ในคำว่า ธรรมหรือคำว่าศาสนาซึ่งหมายเอาทั้งปริยัติ (ทฤษฎี)และปฏิบัติ และปฏิเวธคือการรู้แจ้งแทงตลอดด้วย จะเห็นได้ว่าพุทธภาษิตนั้นเป็นคติเตือนใจของพุทธศาสนิกชนได้ จนบางครั้งสามารถเป็นกำลังใจและสามารถมีผลทำให้คนหยุดกระทำความชั่วได้นอกจากนั้นสุภาษิตก็ยังได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็นพระธรรมวินัย เป็นที่พึ่งแทนพระองค์สมดังพุทธวจนะมาในมหาปรินิพพานสูตรความว่า
“อานนท์ พวกเธอทั้งหลายอาจจะคิดว่า พระธรรมวินัยมีพระศาสดาล่วงลับไปแล้ว พระศาสดาของพวกเราไม่มีแล้ว, อานนท์ พวกเธอทั้งหลายไม่ควรเข้าใจอย่างนั้นแล้ว สำหรับพวกเธอทั้งหลายนั่นแล จักเป็นศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย ในเมื่อเราตถาคตล่วงลับไปแล้ว”๖
พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรมแก่ประชาชนด้วยวิธี ๓ อย่างด้วยกัน และวิธีการทั้ง ๓ นี้ถือว่าเป็นหลักการสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งมีข้อดังนี้๗
๑) พระองค์ทรงสั่งสอนเพื่อให้ผู้ฟังรู้ยิ่งเห็นจริงในธรรมที่ควรรู้ควรเห็น
๒) ทรงสั่งสอนมีเหตุผลที่ผู้ฟังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้
๓) ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์คือผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่การปฏิบัติ
อีกนัยหนึ่งเนื้อหาสาระแห่งพระโอวาทที่พระองค์ทรงประทานแก่พุทธบริษัทเสมอๆนั้น ประมวลลงในหลักการ ๓ อย่างคือ๘
๑ ) สั่งสอนให้เว้นจากการทำบาปทั้งปวง ทุจริต
๒) สั่งสอนให้ทำกุศลทั้งปวง
๓) ทำจิตให้ผ่องแผ้ว
ในคัมภีร์ทีฆนิกายกล่าวยืนยันถึงสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธปัญหาทางอภิปรัชญา ๑๐ ประการเรียกว่า อพยากตปัญหาหรือปัญหาโลกแตก แต่พระองค์ทรงตรัสสอนอริยสัจ ๔ ประการเป็นคำสอนของพระองค์ คือ เรื่องทุกข์ เหตุให้ทุกข์เกิด ความดับทุกข์ และทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์เป็นคำสอนของเราตถาคต โปฏฐปาทะทูลถามต่อไปอีกว่าเพราะเหตุใดพระองค์จึงทรงสอนสิ่งเหล่านี้ พระพุทธเจ้าทรงตรัสอรรถาธิบายต่อไปอีกความว่า
“ที่เราสอนเรื่องนี้ เพราะมันเป็นประโยชน์ เป็นความจริง เป็นวิถีแห่งชีวิตอันประเสริฐ ไม่ติดอยู่ในโลก เป็นไปเพื่อดับตัณหา เป็นไปเพื่อความสงบระงับใจ เป็นไปเพื่อความรู้แจ้งเห็นจริง และเป็นไปเพื่อพระนิพพาน ดังนั้นเราจึงได้นำมาสอนแก่สาวกทั้งหลาย”๙
จากพุทธพจน์นี้ชี้ให้เห็นว่า อริยสัจ ๔ เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือเป็นคำสอนที่พระองค์ทรงเน้นให้เห็นถึงปัณหาชีวิตในปัจจุบันที่มนุษย์ทุกรูปทุกนามประสบอยู่สิ่งนั้นคือ ทุกข์ พระพุทธเจ้าทรงเห็นว่า ชีวิตเต็มไปด้วยทุกข์ในบางครั้งที่รู้สึกว่าเป็นสุขนั้นเป็นเพียงความหลงเท่านั้น ที่แท้แล้วสิ่งที่เรียกว่าสุขนั้น ก็คือความทุกข์นั้นเอง ทุกข์ดังกล่าวนี้เกิดมาจากตัณหา เมื่อไม่มีตัณหาก็ไม่มีทุกข์อีกต่อไป พุทธภาษิตแล้วมีลักษณะทางคำสอนดังนี้คือ
๑ )หลักคำสอนในพุทธศาสนา เป็นหลักธรรมทางเสรีภาพที่เก่าแก่ที่สุดในโลก มีหลักการและวิธีการอันไม่ประกอบด้วยกาลเวลา เมื่อบุคคลประพฤติปฏิบัติตามย่อมได้ผลทันตา
๒ ) พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนให้เลิกละความเป็นทาสภายในใจตนเองนั้นคือ โลภะ โทสะ โมหะ
๓.) พุทธองค์ทรงสอนให้มนุษย์ทั้งปวงอยู่กันด้วยความมีเสรีภาพไม่เบียดเบียนกัน ให้เลิกดูหมิ่นกัน เพราะถือชาติ วรรณะ โคตร โดยมองให้เห็นว่าเป็นแก่นสารแห่งชีวิต แต่กลับสอนให้มนุษย์มองถึงฝ่ายใน คือความมีศีลธรรมเป็นเกณฑ์ในการตัดสิ้นคนดีหรือชั่ว
๔.) หลักคำสอนของพระพุทธเจ้าสั่งสอนให้มนุษย์รู้จักการเสียสละ การเว้นการฆ่าสัตว์ตลอดถึงการทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน พุทธภาษิตเน้นวิธีการให้เกิดความสังคมสงเคราะห์ แทนการเอาเปรียบกันและกัน และสอนให้หันมาชำระจิตใจให้บริสุทธิ์สะอาดแทนซึ่งเป็นการทำบุญที่สูงสุด
๕ ) พุทธพุทธเจ้ามุ่งสั่งสอนวิธีตรงเข้าหาความจริงและให้รู้จักกับความเป็นจริงของชีวิต โดยมองว่าชีวิตมนุษย์มีความเกิดแก่เจ็บตาย เป็นกฎแห่งพระไตรลักษณ์ รวมทั้งสอนให้รู้จักดำเนินชีวิตให้ตรงไปตรงมาไม่ควรเชื้อเรื่องฤกษ์ยาม น้ำศักดิ์สิทธิ์ แต่กับสอนให้รู้จักทำช่วยตนเองเป็นหลักสำคัญ และสอนให้มนุษย์เข้าใจถึงการเกิดในภพต่างๆ เพราะแรงแห่งตัณหาเป็นปัจจัย
๖.) พุทธภาษิต เป็นวิธีการสอนให้แก้ความเสื่อมทางศีลธรรม โดยไม่มองข้ามปัญหาทางเศรษฐกิจ สอนให้แก้ความชั่วด้วยความความดี สอนให้แก้ที่ตัวเราเองก่อน โดยไม่คอยเกี่ยงให้คนทั้งโลกดีหมดแล้วจึงจะดีเป็นคนสุดท้าย
๗ ) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์ตระหนักถึงเรื่องของสติปัญญาในการดำเนินชีวิต โดยให้ใช้ความรอบคอบในการแก้ไขปัญหา ด้วยการพิจารณาให้เห็นสาเหตุแห่งทุกข์ แล้วแก้ไขให้ตรงจุด ไม่ให้เชื้ออย่างงายไร้เหตุผล
๘ ) พุทธภาษิตมุ่งเน้นให้มนุษย์ยึดถือธรรมเป็นใหญ่ เรียกว่าธรรมาธิปไตย ไม่ให้ยึดถือตนเป็นสำคัญ และให้ถือการปฏิบัติเป็นสำคัญในการบูชา
๙.) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์พยายามพึ่งตนเอง และฝึกฝนตนเองมากกว่าพึงพาผู้อื่น เพื่อยกระดับชีวิตตนเองให้ก้าวหน้า ไม่สอนให้รอการอ้อนวอนบวงสรวงจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และยึดหลักว่ามนุษย์มีกรรมเป็นของๆตน ด้วยการทำดีได้ดีนั้นเอง
๑๐ ) พุทธภาษิตพยายามไม่สอนให้พุทธบริษัทอย่าเชื้อถือสิ่งได้ด้วยการเด่า แต่ให้เชื่อหลักของพุทธศาสนาที่มีหลักการดีกว่า
๑๑ ) พุทธภาษิตเสนอหลักการให้มนุษย์ทำความดีงามเพราะเห็นแก่ความดี ไม่ทำความดีเพื่อมุ่งลาภ ยศ สรรเสริญ และพุทธศาสนาก็มีหลักการที่พิสูจน์ได้ทุกสมัย
๑๒ ) พุทธภาษิตต้องการให้มีความขยันหมั่นเพียร ไม่เกียจคร้าน ยิ่งเป็นฆราวาสย่อมต้องใช้หลักธรรมนี้ให้มาก เพราะการครองเรือนที่มีความสุขได้ต้องมีทรัพย์เป็นเครื่องค้ำจุน จึงจะตั้งตัวได้ดี
๑๓ ) พุทธภาษิตต้องการให้เอาชนะความชั่วด้วยความดี ให้ระงับการจองเวรต่อกัน และอย่าได้ก่อความวุ่นวายให้แก่ผู้อื่น ให้รู้จักการผูกไมตรีต่อกัน โดยการเอื้อเพื้อเผือแผ่แก่กันและกันคือสละสุขส่วนตนเพื่อประโยชน์สุขแก่มหาชน สละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ สละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิตและสุดท้ายก็สละชีวิตเพื่อรักษาธรรม
๑๔ ) พุทธภาษิตต้องการสอนให้มนุษย์มีความอดทน ต่อสู้กับความลำบากต่างๆเพื่อเอาชนะอุปสรรคทั้งหลาย ไม่เป็นคนอ่อนแอ และขณะเดียวเมื่อมีความสุขก็อย่าได้หลง ให้ตั้งตนอยู่ในความไม่ประมาท ชีวิตจึงจะพบกับความสุข ดังนั้นพุทธภาษิตก็ยังพยายามให้คนรู้จักรักษากายวาจาและใจของตนให้เป็นปกติ
๑๕ ) พุทธภาษิตต้องการเสื่อให้เห็นหลักการปกครองที่เป็นธรรม โดยยึดหลักความละอายต่อความบาป และความชั่วทั้งหลาย ทั้งผู้นำรัฐและผู้ปกครองในระดับท้องถิ่นควรมีหลักธรรมอย่างนี้ พุทธศาสนาสอนให้รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น อย่าดูหมิ่นผู้อื่นเพราะชาติตระกูล เพราะทรัพย์ และอย่ามีอคติต่อกัน เจ้านายก็ให้รู้จักใช้บ่าว ตลอดถึงการรู้จักเลือกคบกับมิตรที่ดี เว้นบาปมิตร
๑๖ ) พุทธภาษิตสอนให้ใช้ปัญญานำหน้าในการดำเนินชีวิต และสอนให้รู้จักการศึกษา เข้าหาผู้เป็นบัณฑิต และเว้นพาลชน เพื่อความก้าวหน้าแห่งตน และสอนให้รู้จักแบ่งปันกันเพื่อความผาสุขแห่งสังคม และอย่าได้ก่อศัตรูขึ้นมาโดยถือว่ามนุษย์ทุกคนไม่มีดีที่สมบูรณ์ แต่ให้มองหาความดีของผู้อื่น และสอนให้มองดูธรรมชาติโดยความเป็นจริง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงจะได้ไม่เป็นทุกข์ และต้องพยายามเดินตามแนวทางสายกลางย่อมเป็นประตนและผู้อื่นตลอดถึงประโยชน์สูงสุดคือพระนิพพาน
๑๗. ) พุทธภาษิตสอนให้ยึดปรมัตถ์ประโยชน์ อย่าหลงในสิ่งอันเป็นสิ่งสมมติอันเป็นสิ่งบัญญัติ แต่ดูโดยรู้เท่าทัน พยายามใช้ปัญญาเป็นเครื่องส่องทางแห่งชีวิตตน พุทธภาษิตสอนให้รู้จักตอบแทนผู้มีพระคุณว่าเป็นสิ่งมงคล และสอนให้รู้จักหลักการดำเนินไปสู่พระนิพพาน ว่าเป็นยอดแห่งความสุข
เป็นคำสอนที่ให้คติธรรมอันลึกซึ้งแก่ชาวอีสานมาอย่างยาวนาน และเป็นคำสอนในลักษณะเปรียบเทียบ หรือให้ชี้ให้เห็นสัจจธรรมในการดำเนินชีวิต ผญาภาษิตอีสานมีรากฐานมาจากคำสอนในทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะพุทธศาสนสุภาษิตที่มีอิทพลต่อคำผญาภาษิตอีสานเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะคนอีสานนิยมสอนบุตรธิดาของตนโดยทางอ้อม ไม่ได้สอนโดยทางตรง เมื่อท่านจะสอนในเรื่องใดท่านมักจะผูกเป็นคำอุปมาอุปไมย โดยกล่าวถึงข้อเท็จจริงคือความเป็นอยู่และกิริยาอาการหรือความประพฤติของคนหรือสัตว์ ไม่ว่าในทางดีหรือทางชั่วอันเป็นไปในทางรูปธรรม เพื่อให้เกิดแง่คิดในทางนามธรรมเป็นข้อเปรียบเทียบกับรูปธรรม ผญาภาษิตนี้ส่วนมาจากคำสอนในหนังสือวรรณคดีเรื่องต่างๆ
สุภาษิตอีสานโดยภาพรวมจึงเกิดมาจากวรรณคดีทั้งทางศาสนาและประเพณีวัฒธรรมของชาวอีสานเป็นส่วนใหญ่ เพราะวรรณกรรมทางภาษาซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตน คือใช้วรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายเป็นสื่อในการสั่งสอนจริยธรรมตลอดถึงวิถีดำเนินชีวิต ตามความเชื่อและมีการตัดสินความดีความชั่วในสังคมด้วย ดังนั้นสุภาษิตอันเกิดจากวรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายจึงเป็นภาพสะท้อนถึงชีวิตคนและสังคมชาวอีสาน พอจะนำมากล่าวถึงมี ๔ ประการใหญ่ดังนี้ คือ
๒.๑.๒ ลักษณะของพุทธภาษิต
ลักษณะทั่วไปของพุทธศาสนสุภาษิตนั้นจัดแบ่งได้ ๒ ลักษณะ คือ ๑. ลักษณะทางฉันทลักษณ์ ๒. ลักษณะทางเนื้อหา
๑. ลักษณะทางฉันลักษณ์
เป็นคำร้อยกรองในภาษาบาลีเรียกว่า ฉันทลักษณะ เป็นคำประพันธ์ที่กำหนด ครุ ลหุ กำหนดจำนวนคำตามข้อบังคับของฉันท์แต่ละชนิด ฉันท์ ๑ บท เรียกว่า ๑ คาถา ฉันท์ ๑ คาถา มี ๔ บาท ฉันท์ ๑ บาทมี ๘ คำ ไม่เกิด ๑๑ คำ หรือ ๑๔ คำ ตามประเภทของฉันท์ นี้เป็นฉันท์ประเภทหนึ่งที่เรียนรู้และรู้จักกันเป็นอย่างดีในวงการภาษาบาลีในประเทศไทย ๖ ชนิด๕ คือ (๑ ) ปัฐยาวัตรฉันท์ (๒) อินทรวิเชียรฉันท์ (๓) อุเปนทรวิเชียรฉันท์ (๔) อินทรวงศ์ฉันท์ (๕) วังสัฏฐฉันท์ (๖) วสันตดิลกฉันท์
อีกนัยหนึ่งแบ่งตามลักษณะของวิธีการสอนของพระพุทธเจ้า ลักษณะเนื้อหาของพุทธภาษิต ผู้เชียวชาญทั้งหลายได้แบ่งเนื้อหาของสุภาษิตในพระพุทธศาสนาออกเป็นประเภทต่างๆ ตามลักษณะของรูปแบบคำสอนในพุทธศาสนาเรียกอีกอย่างว่า “นวังคสัตถุศาสตร์”๖ คือคำสอนของพระศาสดามีองค์ ๙ พุทธพจน์มีองค์ประกอบ ๙ อย่าง คือ
๑ ) สุตะ คือคำสั่งสอนที่เป็นพระสูตรและพระวินัย รวมทั้งคัมภีร์ทั้งสองด้วยโดยมีลักษณะเป็นสูตร ซึ่งประกอบไปด้วยระเบียบแบบแผนมีลำดับขั้นตอนต่างๆ อันมีข้อธรรมเป็นลักษณะคือ จากข้อหนึ่งถึงสิบข้อ
๒ ) เคยยะ คือ คำสอนที่เป็นลักษณะทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองผสมกัน ได้แก่พระสูตรที่มีคาถาทั้งหมด
๓ ) เวยยากรณะ (ไวยากรณ์) คือคำสอนเป็นแบบร้อยแก้วล้วนได้แก่พระอภิธรรมปิฏกทั้งหมด และพระสูตรที่ไม่มีคาถา
๔ ) คาถา คือ คำสอนแบบร้อยกรองล้วนๆ เช่น ธรรมบท, เถรคาถา, เถรีคาถา
๕ ) อุทาน คือ คำสอนที่เปล่งออกมาเป็นคำที่มีความหมายต่างๆตามสถานการณ์นั้นๆ เช่น สมัยเกิดความสังเวช , สมัยเกิดความปีติยินดีบ้าง ซึ่งเป็นพระคาถา ๘๒ สูตร
๖. ) อิติวุตตกะ เป็นเรื่อง อ้างอิง คือการยกมากล่าวอ้างของพระสังคีติกาจารย์ผู้รวบรวมโดยไม่บอกว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องเหล่านี้แก่ใคร ที่ไหนชื่อพระสูตรเหล่านี้มักขึ้นต้นด้วยคำว่า วุตตัง เหตัง ภควตา (พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดังนี้) เหมือนกันหมด จึงเรียกว่า อิติวุตตกะ แบ่งเป็น ๔ นิบาตมีทั้งหมด ๑๑๒ สูตร
๗ ) ชาดก คือ คำสอนที่กล่าวถึงเรื่องที่เกิดขึ้นมาแล้วในอดีตทั้งที่เป็นเรื่องราวในอดีตของพระพุทธเจ้าบ้าง สาวกบ้าง เป็นธรรมภาษิตในลักษณะการเล่านิทานธรรมอยู่ในเรื่อง ส่วนมากจะเป็นนิบาตชาดก
๘. ) อัพภูตธรรม คือคำสอนที่เป็นเรื่องราวอันน่าอัศจรรย์ใจหรือเรื่องปาฏิหาริย์
๙. ) เวทัลละ คือคำสอนที่สูงขึ้นไปตามลำดับ อาศัยการวิเคราะห์แยกแยะความหมายอย่างละเอียด เช่นพระอภิธรรมเป็นต้น
๒ ลักษณะทางเนื้อหา
เมื่อพิจารณาถึงเนื้อหาและความหมายของพุทธธรรมแล้วอาจแบ่งได้ ๒ ลักษณะด้วยกัน คือ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวงและสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอน
๒.๑ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวง
ตามนัยนี้ มีความหมายปกคลุมทุกสิ่งทุกอย่างในจักรวาล รวมทั้งสิ่งที่เป็น สังขตะและอสังขตะ ทั้งที่เป็นรูปและเป็นนาม ทั้งส่วนที่เป็นโลกีย์และโลกุตตร๑
สังขตธรรม ได้แก่สิ่งทั้งปวงที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ซึ่งอาจทราบได้ในลักษณะต่อไปนี้ “มีเกิดขึ้นในเบื้องต้น เปลี่ยนแปลงไปในท่ามกลางและแตกดับไปในที่สุด”๒ อสังขตธรรมนี้ได้แก่พระนิพพาน อันเป็นความดับทุกข์โดยเด็ดขาด ไม่มีเหตุไม่มีปัจจัยอะไรปรุงแต่งได้เลย แต่มีลักษณะให้ทราบได้ ๓ ประการ คือ “ไม่เกิดขึ้นปรากฏ ไม่ดับไปปรากฎ และขณะที่ดำรงอยู่ก็ไม่มีความเปลี่ยนแปลงปรากฏ” ๓
มีข้อที่ควรทราบอีกอย่างหนึ่งคือ สังขตธรรมนั้นหมายเอาทั้งโลกุตตรธรรม ๘ ประการ อันมีมรรค ๔ ผล ๔ ด้วย ส่วนอสังขตธรรมหมายเอาพระนิพพานอย่างเดียว ซึ่งก็จัดว่าเป็นโลกุตตรธรรมเหมือนกัน ในพุทธศาสนาได้กล่าวถึงลักษณะของสิ่งทั้งปวงไว้หลายอย่าง เช่น ธรรมตา, ธรรมธาตุ, ธรรมฐิติตา, ธรรมนิยามตา, ซึ่งแต่ละคำก็เป็นเครื่องแสดงให้เห็นว่า พุทธธรรมะคือสิ่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ด้วยตัวเอง มีความถูกต้องและเป็นอิสระในตัวเองโดยสมบูรณ์ มันเป็นกฎของจักรวาลหรือเป็นกฎเกณฑ์อันหนึ่งของธรรมชาติ ซึ่งคงอยู่ชั่วนิรันด์และมิไดถูกสร้างขึ้นใหม่ เป็นสภาพที่มีอยู่อย่างนั้น พระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตาม มิได้ทรงอุบัติก็ตาม สภาวะที่เรียกว่า ธรรมะ นั้น ก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้เปลี่ยนแปลงอย่างอื่น ดังพุทธพจน์ตรัสว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งป่วงเป็นอนัตตา”๔
ทั้ง ๓ ลักษณะนี้เรียกว่ากฎของธรรมดาหรือธรรมชาติ ข้อหนึ่งและสองใช้กล่าวถึงธรรมชาติของสังขตธรรม คือธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ส่วนข้อสุดท้ายใช้กล่าวถึงธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตานั้นใช้กล่าวถึงทั้งสังขตธรรมและอสังขตธรรม ดังพุทธพจน์ที่มาในคัมภีร์อังคุตตรนิกาย เป็นหลักฐานยืนยันข้อความข้างบนนั้นได้เป็นอย่างดีคือ
“ตถาคตเจ้าจะอุบัติขึ้นก็ตาม จะไม่อุบัติขึ้นก็ตามธรรมเหล่านี้ก็คงอยู่อย่านั้น ตั้งอยู่อย่างนั้น และเป็นอยู่อย่างนั้น คือสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ธรรมเหล่านี้ตถาคตได้รู้แจ้งแทงตลอดด้วยตนเองแล้วจึงได้นำมาประกาศแก่คนอื่น”
ได้ความว่าทั้งสังขตธรรมและสังขตธรรมที่กล่าวมานั้นรวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงอันเป็นสภาวะที่มีอยู่เดิม และคงอยู่อย่างนั้นพระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตามไม่ทรงอุบัติขึ้นก็ตาม จะรู้หรือไม่รู้ก็ตาม สภาวะนั้นก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้ถูกสร้างขึ้นมิได้ถูกทำลายโดยผู้ใดผู้หนึ่ง พระพุทธเจ้ามิได้เป็นผู้สร้างขึ้น เป็นเพียงผู้ค้นพบแล้วนำมาสอนคนอื่นเท่านั้นดังพุทธพจน์ว่า “พวกเธอจงพยายามทำความเพียรบากบั่นเองเถิด เราตถาคตเป็น แต่ผู้บอกแนวทางให้เท่านั้น”๕
๒.๒.ลักษณะที่เป็นคำสอน
ลักษณะคำสอนนี้ก็รวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงนั้นเอง พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอย่างไรหรือมีอะไรที่พระพุทธองค์ทรงสอน และมีสิ่งใดที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงสั่งสอน พระพุทธเจ้าทรงรู้ทุกสิ่งทุกอย่างจึงมีพระนามว่า สัพพัญญู แต่พระองค์มิได้ทรงสอนทุกอย่างที่พระองค์ตรัสรู้ ทรงสั่งสอนเฉพาะสิ่งที่จำเป็นในการปฏิบัติ เพื่อความพ้นทุกข์เท่านั้น
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหมดรวมอยู่ในคำว่า ธรรมหรือคำว่าศาสนาซึ่งหมายเอาทั้งปริยัติ (ทฤษฎี)และปฏิบัติ และปฏิเวธคือการรู้แจ้งแทงตลอดด้วย จะเห็นได้ว่าพุทธภาษิตนั้นเป็นคติเตือนใจของพุทธศาสนิกชนได้ จนบางครั้งสามารถเป็นกำลังใจและสามารถมีผลทำให้คนหยุดกระทำความชั่วได้นอกจากนั้นสุภาษิตก็ยังได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็นพระธรรมวินัย เป็นที่พึ่งแทนพระองค์สมดังพุทธวจนะมาในมหาปรินิพพานสูตรความว่า
“อานนท์ พวกเธอทั้งหลายอาจจะคิดว่า พระธรรมวินัยมีพระศาสดาล่วงลับไปแล้ว พระศาสดาของพวกเราไม่มีแล้ว, อานนท์ พวกเธอทั้งหลายไม่ควรเข้าใจอย่างนั้นแล้ว สำหรับพวกเธอทั้งหลายนั่นแล จักเป็นศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย ในเมื่อเราตถาคตล่วงลับไปแล้ว”๖
พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรมแก่ประชาชนด้วยวิธี ๓ อย่างด้วยกัน และวิธีการทั้ง ๓ นี้ถือว่าเป็นหลักการสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งมีข้อดังนี้๗
๑) พระองค์ทรงสั่งสอนเพื่อให้ผู้ฟังรู้ยิ่งเห็นจริงในธรรมที่ควรรู้ควรเห็น
๒) ทรงสั่งสอนมีเหตุผลที่ผู้ฟังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้
๓) ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์คือผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่การปฏิบัติ
อีกนัยหนึ่งเนื้อหาสาระแห่งพระโอวาทที่พระองค์ทรงประทานแก่พุทธบริษัทเสมอๆนั้น ประมวลลงในหลักการ ๓ อย่างคือ๘
๑ ) สั่งสอนให้เว้นจากการทำบาปทั้งปวง ทุจริต
๒) สั่งสอนให้ทำกุศลทั้งปวง
๓) ทำจิตให้ผ่องแผ้ว
ในคัมภีร์ทีฆนิกายกล่าวยืนยันถึงสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธปัญหาทางอภิปรัชญา ๑๐ ประการเรียกว่า อพยากตปัญหาหรือปัญหาโลกแตก แต่พระองค์ทรงตรัสสอนอริยสัจ ๔ ประการเป็นคำสอนของพระองค์ คือ เรื่องทุกข์ เหตุให้ทุกข์เกิด ความดับทุกข์ และทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์เป็นคำสอนของเราตถาคต โปฏฐปาทะทูลถามต่อไปอีกว่าเพราะเหตุใดพระองค์จึงทรงสอนสิ่งเหล่านี้ พระพุทธเจ้าทรงตรัสอรรถาธิบายต่อไปอีกความว่า
“ที่เราสอนเรื่องนี้ เพราะมันเป็นประโยชน์ เป็นความจริง เป็นวิถีแห่งชีวิตอันประเสริฐ ไม่ติดอยู่ในโลก เป็นไปเพื่อดับตัณหา เป็นไปเพื่อความสงบระงับใจ เป็นไปเพื่อความรู้แจ้งเห็นจริง และเป็นไปเพื่อพระนิพพาน ดังนั้นเราจึงได้นำมาสอนแก่สาวกทั้งหลาย”๙
จากพุทธพจน์นี้ชี้ให้เห็นว่า อริยสัจ ๔ เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือเป็นคำสอนที่พระองค์ทรงเน้นให้เห็นถึงปัณหาชีวิตในปัจจุบันที่มนุษย์ทุกรูปทุกนามประสบอยู่สิ่งนั้นคือ ทุกข์ พระพุทธเจ้าทรงเห็นว่า ชีวิตเต็มไปด้วยทุกข์ในบางครั้งที่รู้สึกว่าเป็นสุขนั้นเป็นเพียงความหลงเท่านั้น ที่แท้แล้วสิ่งที่เรียกว่าสุขนั้น ก็คือความทุกข์นั้นเอง ทุกข์ดังกล่าวนี้เกิดมาจากตัณหา เมื่อไม่มีตัณหาก็ไม่มีทุกข์อีกต่อไป พุทธภาษิตแล้วมีลักษณะทางคำสอนดังนี้คือ
๑ )หลักคำสอนในพุทธศาสนา เป็นหลักธรรมทางเสรีภาพที่เก่าแก่ที่สุดในโลก มีหลักการและวิธีการอันไม่ประกอบด้วยกาลเวลา เมื่อบุคคลประพฤติปฏิบัติตามย่อมได้ผลทันตา
๒ ) พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนให้เลิกละความเป็นทาสภายในใจตนเองนั้นคือ โลภะ โทสะ โมหะ
๓.) พุทธองค์ทรงสอนให้มนุษย์ทั้งปวงอยู่กันด้วยความมีเสรีภาพไม่เบียดเบียนกัน ให้เลิกดูหมิ่นกัน เพราะถือชาติ วรรณะ โคตร โดยมองให้เห็นว่าเป็นแก่นสารแห่งชีวิต แต่กลับสอนให้มนุษย์มองถึงฝ่ายใน คือความมีศีลธรรมเป็นเกณฑ์ในการตัดสิ้นคนดีหรือชั่ว
๔.) หลักคำสอนของพระพุทธเจ้าสั่งสอนให้มนุษย์รู้จักการเสียสละ การเว้นการฆ่าสัตว์ตลอดถึงการทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน พุทธภาษิตเน้นวิธีการให้เกิดความสังคมสงเคราะห์ แทนการเอาเปรียบกันและกัน และสอนให้หันมาชำระจิตใจให้บริสุทธิ์สะอาดแทนซึ่งเป็นการทำบุญที่สูงสุด
๕ ) พุทธพุทธเจ้ามุ่งสั่งสอนวิธีตรงเข้าหาความจริงและให้รู้จักกับความเป็นจริงของชีวิต โดยมองว่าชีวิตมนุษย์มีความเกิดแก่เจ็บตาย เป็นกฎแห่งพระไตรลักษณ์ รวมทั้งสอนให้รู้จักดำเนินชีวิตให้ตรงไปตรงมาไม่ควรเชื้อเรื่องฤกษ์ยาม น้ำศักดิ์สิทธิ์ แต่กับสอนให้รู้จักทำช่วยตนเองเป็นหลักสำคัญ และสอนให้มนุษย์เข้าใจถึงการเกิดในภพต่างๆ เพราะแรงแห่งตัณหาเป็นปัจจัย
๖.) พุทธภาษิต เป็นวิธีการสอนให้แก้ความเสื่อมทางศีลธรรม โดยไม่มองข้ามปัญหาทางเศรษฐกิจ สอนให้แก้ความชั่วด้วยความความดี สอนให้แก้ที่ตัวเราเองก่อน โดยไม่คอยเกี่ยงให้คนทั้งโลกดีหมดแล้วจึงจะดีเป็นคนสุดท้าย
๗ ) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์ตระหนักถึงเรื่องของสติปัญญาในการดำเนินชีวิต โดยให้ใช้ความรอบคอบในการแก้ไขปัญหา ด้วยการพิจารณาให้เห็นสาเหตุแห่งทุกข์ แล้วแก้ไขให้ตรงจุด ไม่ให้เชื้ออย่างงายไร้เหตุผล
๘ ) พุทธภาษิตมุ่งเน้นให้มนุษย์ยึดถือธรรมเป็นใหญ่ เรียกว่าธรรมาธิปไตย ไม่ให้ยึดถือตนเป็นสำคัญ และให้ถือการปฏิบัติเป็นสำคัญในการบูชา
๙.) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์พยายามพึ่งตนเอง และฝึกฝนตนเองมากกว่าพึงพาผู้อื่น เพื่อยกระดับชีวิตตนเองให้ก้าวหน้า ไม่สอนให้รอการอ้อนวอนบวงสรวงจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และยึดหลักว่ามนุษย์มีกรรมเป็นของๆตน ด้วยการทำดีได้ดีนั้นเอง
๑๐ ) พุทธภาษิตพยายามไม่สอนให้พุทธบริษัทอย่าเชื้อถือสิ่งได้ด้วยการเด่า แต่ให้เชื่อหลักของพุทธศาสนาที่มีหลักการดีกว่า
๑๑ ) พุทธภาษิตเสนอหลักการให้มนุษย์ทำความดีงามเพราะเห็นแก่ความดี ไม่ทำความดีเพื่อมุ่งลาภ ยศ สรรเสริญ และพุทธศาสนาก็มีหลักการที่พิสูจน์ได้ทุกสมัย
๑๒ ) พุทธภาษิตต้องการให้มีความขยันหมั่นเพียร ไม่เกียจคร้าน ยิ่งเป็นฆราวาสย่อมต้องใช้หลักธรรมนี้ให้มาก เพราะการครองเรือนที่มีความสุขได้ต้องมีทรัพย์เป็นเครื่องค้ำจุน จึงจะตั้งตัวได้ดี
๑๓ ) พุทธภาษิตต้องการให้เอาชนะความชั่วด้วยความดี ให้ระงับการจองเวรต่อกัน และอย่าได้ก่อความวุ่นวายให้แก่ผู้อื่น ให้รู้จักการผูกไมตรีต่อกัน โดยการเอื้อเพื้อเผือแผ่แก่กันและกันคือสละสุขส่วนตนเพื่อประโยชน์สุขแก่มหาชน สละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ สละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิตและสุดท้ายก็สละชีวิตเพื่อรักษาธรรม
๑๔ ) พุทธภาษิตต้องการสอนให้มนุษย์มีความอดทน ต่อสู้กับความลำบากต่างๆเพื่อเอาชนะอุปสรรคทั้งหลาย ไม่เป็นคนอ่อนแอ และขณะเดียวเมื่อมีความสุขก็อย่าได้หลง ให้ตั้งตนอยู่ในความไม่ประมาท ชีวิตจึงจะพบกับความสุข ดังนั้นพุทธภาษิตก็ยังพยายามให้คนรู้จักรักษากายวาจาและใจของตนให้เป็นปกติ
๑๕ ) พุทธภาษิตต้องการเสื่อให้เห็นหลักการปกครองที่เป็นธรรม โดยยึดหลักความละอายต่อความบาป และความชั่วทั้งหลาย ทั้งผู้นำรัฐและผู้ปกครองในระดับท้องถิ่นควรมีหลักธรรมอย่างนี้ พุทธศาสนาสอนให้รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น อย่าดูหมิ่นผู้อื่นเพราะชาติตระกูล เพราะทรัพย์ และอย่ามีอคติต่อกัน เจ้านายก็ให้รู้จักใช้บ่าว ตลอดถึงการรู้จักเลือกคบกับมิตรที่ดี เว้นบาปมิตร
๑๖ ) พุทธภาษิตสอนให้ใช้ปัญญานำหน้าในการดำเนินชีวิต และสอนให้รู้จักการศึกษา เข้าหาผู้เป็นบัณฑิต และเว้นพาลชน เพื่อความก้าวหน้าแห่งตน และสอนให้รู้จักแบ่งปันกันเพื่อความผาสุขแห่งสังคม และอย่าได้ก่อศัตรูขึ้นมาโดยถือว่ามนุษย์ทุกคนไม่มีดีที่สมบูรณ์ แต่ให้มองหาความดีของผู้อื่น และสอนให้มองดูธรรมชาติโดยความเป็นจริง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงจะได้ไม่เป็นทุกข์ และต้องพยายามเดินตามแนวทางสายกลางย่อมเป็นประตนและผู้อื่นตลอดถึงประโยชน์สูงสุดคือพระนิพพาน
๑๗. ) พุทธภาษิตสอนให้ยึดปรมัตถ์ประโยชน์ อย่าหลงในสิ่งอันเป็นสิ่งสมมติอันเป็นสิ่งบัญญัติ แต่ดูโดยรู้เท่าทัน พยายามใช้ปัญญาเป็นเครื่องส่องทางแห่งชีวิตตน พุทธภาษิตสอนให้รู้จักตอบแทนผู้มีพระคุณว่าเป็นสิ่งมงคล และสอนให้รู้จักหลักการดำเนินไปสู่พระนิพพาน ว่าเป็นยอดแห่งความสุข
๔ ) ผญาภาษิต
เป็นคำสอนที่ให้คติธรรมอันลึกซึ้งแก่ชาวอีสานมาอย่างยาวนาน และเป็นคำสอนในลักษณะเปรียบเทียบ หรือให้ชี้ให้เห็นสัจจธรรมในการดำเนินชีวิต ผญาภาษิตอีสานมีรากฐานมาจากคำสอนในทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะพุทธศาสนสุภาษิตที่มีอิทพลต่อคำผญาภาษิตอีสานเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะคนอีสานนิยมสอนบุตรธิดาของตนโดยทางอ้อม ไม่ได้สอนโดยทางตรง เมื่อท่านจะสอนในเรื่องใดท่านมักจะผูกเป็นคำอุปมาอุปไมย โดยกล่าวถึงข้อเท็จจริงคือความเป็นอยู่และกิริยาอาการหรือความประพฤติของคนหรือสัตว์ ไม่ว่าในทางดีหรือทางชั่วอันเป็นไปในทางรูปธรรม เพื่อให้เกิดแง่คิดในทางนามธรรมเป็นข้อเปรียบเทียบกับรูปธรรม ผญาภาษิตนี้ส่วนมาจากคำสอนในหนังสือวรรณคดีเรื่องต่างๆ
สุภาษิตอีสานโดยภาพรวมจึงเกิดมาจากวรรณคดีทั้งทางศาสนาและประเพณีวัฒธรรมของชาวอีสานเป็นส่วนใหญ่ เพราะวรรณกรรมทางภาษาซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตน คือใช้วรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายเป็นสื่อในการสั่งสอนจริยธรรมตลอดถึงวิถีดำเนินชีวิต ตามความเชื่อและมีการตัดสินความดีความชั่วในสังคมด้วย ดังนั้นสุภาษิตอันเกิดจากวรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายจึงเป็นภาพสะท้อนถึงชีวิตคนและสังคมชาวอีสาน พอจะนำมากล่าวถึงมี ๔ ประการใหญ่ดังนี้ คือ
๒.๑.๒ ลักษณะของพุทธภาษิต
ลักษณะทั่วไปของพุทธศาสนสุภาษิตนั้นจัดแบ่งได้ ๒ ลักษณะ คือ ๑. ลักษณะทางฉันทลักษณ์ ๒. ลักษณะทางเนื้อหา
๑. ลักษณะทางฉันลักษณ์
เป็นคำร้อยกรองในภาษาบาลีเรียกว่า ฉันทลักษณะ เป็นคำประพันธ์ที่กำหนด ครุ ลหุ กำหนดจำนวนคำตามข้อบังคับของฉันท์แต่ละชนิด ฉันท์ ๑ บท เรียกว่า ๑ คาถา ฉันท์ ๑ คาถา มี ๔ บาท ฉันท์ ๑ บาทมี ๘ คำ ไม่เกิด ๑๑ คำ หรือ ๑๔ คำ ตามประเภทของฉันท์ นี้เป็นฉันท์ประเภทหนึ่งที่เรียนรู้และรู้จักกันเป็นอย่างดีในวงการภาษาบาลีในประเทศไทย ๖ ชนิด๕ คือ (๑ ) ปัฐยาวัตรฉันท์ (๒) อินทรวิเชียรฉันท์ (๓) อุเปนทรวิเชียรฉันท์ (๔) อินทรวงศ์ฉันท์ (๕) วังสัฏฐฉันท์ (๖) วสันตดิลกฉันท์
อีกนัยหนึ่งแบ่งตามลักษณะของวิธีการสอนของพระพุทธเจ้า ลักษณะเนื้อหาของพุทธภาษิต ผู้เชียวชาญทั้งหลายได้แบ่งเนื้อหาของสุภาษิตในพระพุทธศาสนาออกเป็นประเภทต่างๆ ตามลักษณะของรูปแบบคำสอนในพุทธศาสนาเรียกอีกอย่างว่า “นวังคสัตถุศาสตร์”๖ คือคำสอนของพระศาสดามีองค์ ๙ พุทธพจน์มีองค์ประกอบ ๙ อย่าง คือ
๑ ) สุตะ คือคำสั่งสอนที่เป็นพระสูตรและพระวินัย รวมทั้งคัมภีร์ทั้งสองด้วยโดยมีลักษณะเป็นสูตร ซึ่งประกอบไปด้วยระเบียบแบบแผนมีลำดับขั้นตอนต่างๆ อันมีข้อธรรมเป็นลักษณะคือ จากข้อหนึ่งถึงสิบข้อ
๒ ) เคยยะ คือ คำสอนที่เป็นลักษณะทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองผสมกัน ได้แก่พระสูตรที่มีคาถาทั้งหมด
๓ ) เวยยากรณะ (ไวยากรณ์) คือคำสอนเป็นแบบร้อยแก้วล้วนได้แก่พระอภิธรรมปิฏกทั้งหมด และพระสูตรที่ไม่มีคาถา
๔ ) คาถา คือ คำสอนแบบร้อยกรองล้วนๆ เช่น ธรรมบท, เถรคาถา, เถรีคาถา
๕ ) อุทาน คือ คำสอนที่เปล่งออกมาเป็นคำที่มีความหมายต่างๆตามสถานการณ์นั้นๆ เช่น สมัยเกิดความสังเวช , สมัยเกิดความปีติยินดีบ้าง ซึ่งเป็นพระคาถา ๘๒ สูตร
๖. ) อิติวุตตกะ เป็นเรื่อง อ้างอิง คือการยกมากล่าวอ้างของพระสังคีติกาจารย์ผู้รวบรวมโดยไม่บอกว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องเหล่านี้แก่ใคร ที่ไหนชื่อพระสูตรเหล่านี้มักขึ้นต้นด้วยคำว่า วุตตัง เหตัง ภควตา (พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดังนี้) เหมือนกันหมด จึงเรียกว่า อิติวุตตกะ แบ่งเป็น ๔ นิบาตมีทั้งหมด ๑๑๒ สูตร
๗ ) ชาดก คือ คำสอนที่กล่าวถึงเรื่องที่เกิดขึ้นมาแล้วในอดีตทั้งที่เป็นเรื่องราวในอดีตของพระพุทธเจ้าบ้าง สาวกบ้าง เป็นธรรมภาษิตในลักษณะการเล่านิทานธรรมอยู่ในเรื่อง ส่วนมากจะเป็นนิบาตชาดก
๘. ) อัพภูตธรรม คือคำสอนที่เป็นเรื่องราวอันน่าอัศจรรย์ใจหรือเรื่องปาฏิหาริย์
๙. ) เวทัลละ คือคำสอนที่สูงขึ้นไปตามลำดับ อาศัยการวิเคราะห์แยกแยะความหมายอย่างละเอียด เช่นพระอภิธรรมเป็นต้น
๒ ลักษณะทางเนื้อหา
เมื่อพิจารณาถึงเนื้อหาและความหมายของพุทธธรรมแล้วอาจแบ่งได้ ๒ ลักษณะด้วยกัน คือ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวงและสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอน
๒.๑ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวง
ตามนัยนี้ มีความหมายปกคลุมทุกสิ่งทุกอย่างในจักรวาล รวมทั้งสิ่งที่เป็น สังขตะและอสังขตะ ทั้งที่เป็นรูปและเป็นนาม ทั้งส่วนที่เป็นโลกีย์และโลกุตตร๑
สังขตธรรม ได้แก่สิ่งทั้งปวงที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ซึ่งอาจทราบได้ในลักษณะต่อไปนี้ “มีเกิดขึ้นในเบื้องต้น เปลี่ยนแปลงไปในท่ามกลางและแตกดับไปในที่สุด”๒ อสังขตธรรมนี้ได้แก่พระนิพพาน อันเป็นความดับทุกข์โดยเด็ดขาด ไม่มีเหตุไม่มีปัจจัยอะไรปรุงแต่งได้เลย แต่มีลักษณะให้ทราบได้ ๓ ประการ คือ “ไม่เกิดขึ้นปรากฏ ไม่ดับไปปรากฎ และขณะที่ดำรงอยู่ก็ไม่มีความเปลี่ยนแปลงปรากฏ” ๓
มีข้อที่ควรทราบอีกอย่างหนึ่งคือ สังขตธรรมนั้นหมายเอาทั้งโลกุตตรธรรม ๘ ประการ อันมีมรรค ๔ ผล ๔ ด้วย ส่วนอสังขตธรรมหมายเอาพระนิพพานอย่างเดียว ซึ่งก็จัดว่าเป็นโลกุตตรธรรมเหมือนกัน ในพุทธศาสนาได้กล่าวถึงลักษณะของสิ่งทั้งปวงไว้หลายอย่าง เช่น ธรรมตา, ธรรมธาตุ, ธรรมฐิติตา, ธรรมนิยามตา, ซึ่งแต่ละคำก็เป็นเครื่องแสดงให้เห็นว่า พุทธธรรมะคือสิ่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ด้วยตัวเอง มีความถูกต้องและเป็นอิสระในตัวเองโดยสมบูรณ์ มันเป็นกฎของจักรวาลหรือเป็นกฎเกณฑ์อันหนึ่งของธรรมชาติ ซึ่งคงอยู่ชั่วนิรันด์และมิไดถูกสร้างขึ้นใหม่ เป็นสภาพที่มีอยู่อย่างนั้น พระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตาม มิได้ทรงอุบัติก็ตาม สภาวะที่เรียกว่า ธรรมะ นั้น ก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้เปลี่ยนแปลงอย่างอื่น ดังพุทธพจน์ตรัสว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งป่วงเป็นอนัตตา”๔
ทั้ง ๓ ลักษณะนี้เรียกว่ากฎของธรรมดาหรือธรรมชาติ ข้อหนึ่งและสองใช้กล่าวถึงธรรมชาติของสังขตธรรม คือธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ส่วนข้อสุดท้ายใช้กล่าวถึงธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตานั้นใช้กล่าวถึงทั้งสังขตธรรมและอสังขตธรรม ดังพุทธพจน์ที่มาในคัมภีร์อังคุตตรนิกาย เป็นหลักฐานยืนยันข้อความข้างบนนั้นได้เป็นอย่างดีคือ
“ตถาคตเจ้าจะอุบัติขึ้นก็ตาม จะไม่อุบัติขึ้นก็ตามธรรมเหล่านี้ก็คงอยู่อย่านั้น ตั้งอยู่อย่างนั้น และเป็นอยู่อย่างนั้น คือสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ธรรมเหล่านี้ตถาคตได้รู้แจ้งแทงตลอดด้วยตนเองแล้วจึงได้นำมาประกาศแก่คนอื่น”
ได้ความว่าทั้งสังขตธรรมและสังขตธรรมที่กล่าวมานั้นรวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงอันเป็นสภาวะที่มีอยู่เดิม และคงอยู่อย่างนั้นพระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตามไม่ทรงอุบัติขึ้นก็ตาม จะรู้หรือไม่รู้ก็ตาม สภาวะนั้นก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้ถูกสร้างขึ้นมิได้ถูกทำลายโดยผู้ใดผู้หนึ่ง พระพุทธเจ้ามิได้เป็นผู้สร้างขึ้น เป็นเพียงผู้ค้นพบแล้วนำมาสอนคนอื่นเท่านั้นดังพุทธพจน์ว่า “พวกเธอจงพยายามทำความเพียรบากบั่นเองเถิด เราตถาคตเป็น แต่ผู้บอกแนวทางให้เท่านั้น”๕
๒.๒.ลักษณะที่เป็นคำสอน
ลักษณะคำสอนนี้ก็รวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงนั้นเอง พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอย่างไรหรือมีอะไรที่พระพุทธองค์ทรงสอน และมีสิ่งใดที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงสั่งสอน พระพุทธเจ้าทรงรู้ทุกสิ่งทุกอย่างจึงมีพระนามว่า สัพพัญญู แต่พระองค์มิได้ทรงสอนทุกอย่างที่พระองค์ตรัสรู้ ทรงสั่งสอนเฉพาะสิ่งที่จำเป็นในการปฏิบัติ เพื่อความพ้นทุกข์เท่านั้น
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหมดรวมอยู่ในคำว่า ธรรมหรือคำว่าศาสนาซึ่งหมายเอาทั้งปริยัติ (ทฤษฎี)และปฏิบัติ และปฏิเวธคือการรู้แจ้งแทงตลอดด้วย จะเห็นได้ว่าพุทธภาษิตนั้นเป็นคติเตือนใจของพุทธศาสนิกชนได้ จนบางครั้งสามารถเป็นกำลังใจและสามารถมีผลทำให้คนหยุดกระทำความชั่วได้นอกจากนั้นสุภาษิตก็ยังได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็นพระธรรมวินัย เป็นที่พึ่งแทนพระองค์สมดังพุทธวจนะมาในมหาปรินิพพานสูตรความว่า
“อานนท์ พวกเธอทั้งหลายอาจจะคิดว่า พระธรรมวินัยมีพระศาสดาล่วงลับไปแล้ว พระศาสดาของพวกเราไม่มีแล้ว, อานนท์ พวกเธอทั้งหลายไม่ควรเข้าใจอย่างนั้นแล้ว สำหรับพวกเธอทั้งหลายนั่นแล จักเป็นศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย ในเมื่อเราตถาคตล่วงลับไปแล้ว”๖
พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรมแก่ประชาชนด้วยวิธี ๓ อย่างด้วยกัน และวิธีการทั้ง ๓ นี้ถือว่าเป็นหลักการสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งมีข้อดังนี้๗
๑) พระองค์ทรงสั่งสอนเพื่อให้ผู้ฟังรู้ยิ่งเห็นจริงในธรรมที่ควรรู้ควรเห็น
๒) ทรงสั่งสอนมีเหตุผลที่ผู้ฟังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้
๓) ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์คือผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่การปฏิบัติ
อีกนัยหนึ่งเนื้อหาสาระแห่งพระโอวาทที่พระองค์ทรงประทานแก่พุทธบริษัทเสมอๆนั้น ประมวลลงในหลักการ ๓ อย่างคือ๘
๑ ) สั่งสอนให้เว้นจากการทำบาปทั้งปวง ทุจริต
๒) สั่งสอนให้ทำกุศลทั้งปวง
๓) ทำจิตให้ผ่องแผ้ว
ในคัมภีร์ทีฆนิกายกล่าวยืนยันถึงสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธปัญหาทางอภิปรัชญา ๑๐ ประการเรียกว่า อพยากตปัญหาหรือปัญหาโลกแตก แต่พระองค์ทรงตรัสสอนอริยสัจ ๔ ประการเป็นคำสอนของพระองค์ คือ เรื่องทุกข์ เหตุให้ทุกข์เกิด ความดับทุกข์ และทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์เป็นคำสอนของเราตถาคต โปฏฐปาทะทูลถามต่อไปอีกว่าเพราะเหตุใดพระองค์จึงทรงสอนสิ่งเหล่านี้ พระพุทธเจ้าทรงตรัสอรรถาธิบายต่อไปอีกความว่า
“ที่เราสอนเรื่องนี้ เพราะมันเป็นประโยชน์ เป็นความจริง เป็นวิถีแห่งชีวิตอันประเสริฐ ไม่ติดอยู่ในโลก เป็นไปเพื่อดับตัณหา เป็นไปเพื่อความสงบระงับใจ เป็นไปเพื่อความรู้แจ้งเห็นจริง และเป็นไปเพื่อพระนิพพาน ดังนั้นเราจึงได้นำมาสอนแก่สาวกทั้งหลาย”๙
จากพุทธพจน์นี้ชี้ให้เห็นว่า อริยสัจ ๔ เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือเป็นคำสอนที่พระองค์ทรงเน้นให้เห็นถึงปัณหาชีวิตในปัจจุบันที่มนุษย์ทุกรูปทุกนามประสบอยู่สิ่งนั้นคือ ทุกข์ พระพุทธเจ้าทรงเห็นว่า ชีวิตเต็มไปด้วยทุกข์ในบางครั้งที่รู้สึกว่าเป็นสุขนั้นเป็นเพียงความหลงเท่านั้น ที่แท้แล้วสิ่งที่เรียกว่าสุขนั้น ก็คือความทุกข์นั้นเอง ทุกข์ดังกล่าวนี้เกิดมาจากตัณหา เมื่อไม่มีตัณหาก็ไม่มีทุกข์อีกต่อไป พุทธภาษิตแล้วมีลักษณะทางคำสอนดังนี้คือ
๑ )หลักคำสอนในพุทธศาสนา เป็นหลักธรรมทางเสรีภาพที่เก่าแก่ที่สุดในโลก มีหลักการและวิธีการอันไม่ประกอบด้วยกาลเวลา เมื่อบุคคลประพฤติปฏิบัติตามย่อมได้ผลทันตา
๒ ) พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนให้เลิกละความเป็นทาสภายในใจตนเองนั้นคือ โลภะ โทสะ โมหะ
๓.) พุทธองค์ทรงสอนให้มนุษย์ทั้งปวงอยู่กันด้วยความมีเสรีภาพไม่เบียดเบียนกัน ให้เลิกดูหมิ่นกัน เพราะถือชาติ วรรณะ โคตร โดยมองให้เห็นว่าเป็นแก่นสารแห่งชีวิต แต่กลับสอนให้มนุษย์มองถึงฝ่ายใน คือความมีศีลธรรมเป็นเกณฑ์ในการตัดสิ้นคนดีหรือชั่ว
๔.) หลักคำสอนของพระพุทธเจ้าสั่งสอนให้มนุษย์รู้จักการเสียสละ การเว้นการฆ่าสัตว์ตลอดถึงการทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน พุทธภาษิตเน้นวิธีการให้เกิดความสังคมสงเคราะห์ แทนการเอาเปรียบกันและกัน และสอนให้หันมาชำระจิตใจให้บริสุทธิ์สะอาดแทนซึ่งเป็นการทำบุญที่สูงสุด
๕ ) พุทธพุทธเจ้ามุ่งสั่งสอนวิธีตรงเข้าหาความจริงและให้รู้จักกับความเป็นจริงของชีวิต โดยมองว่าชีวิตมนุษย์มีความเกิดแก่เจ็บตาย เป็นกฎแห่งพระไตรลักษณ์ รวมทั้งสอนให้รู้จักดำเนินชีวิตให้ตรงไปตรงมาไม่ควรเชื้อเรื่องฤกษ์ยาม น้ำศักดิ์สิทธิ์ แต่กับสอนให้รู้จักทำช่วยตนเองเป็นหลักสำคัญ และสอนให้มนุษย์เข้าใจถึงการเกิดในภพต่างๆ เพราะแรงแห่งตัณหาเป็นปัจจัย
๖.) พุทธภาษิต เป็นวิธีการสอนให้แก้ความเสื่อมทางศีลธรรม โดยไม่มองข้ามปัญหาทางเศรษฐกิจ สอนให้แก้ความชั่วด้วยความความดี สอนให้แก้ที่ตัวเราเองก่อน โดยไม่คอยเกี่ยงให้คนทั้งโลกดีหมดแล้วจึงจะดีเป็นคนสุดท้าย
๗ ) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์ตระหนักถึงเรื่องของสติปัญญาในการดำเนินชีวิต โดยให้ใช้ความรอบคอบในการแก้ไขปัญหา ด้วยการพิจารณาให้เห็นสาเหตุแห่งทุกข์ แล้วแก้ไขให้ตรงจุด ไม่ให้เชื้ออย่างงายไร้เหตุผล
๘ ) พุทธภาษิตมุ่งเน้นให้มนุษย์ยึดถือธรรมเป็นใหญ่ เรียกว่าธรรมาธิปไตย ไม่ให้ยึดถือตนเป็นสำคัญ และให้ถือการปฏิบัติเป็นสำคัญในการบูชา
๙.) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์พยายามพึ่งตนเอง และฝึกฝนตนเองมากกว่าพึงพาผู้อื่น เพื่อยกระดับชีวิตตนเองให้ก้าวหน้า ไม่สอนให้รอการอ้อนวอนบวงสรวงจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และยึดหลักว่ามนุษย์มีกรรมเป็นของๆตน ด้วยการทำดีได้ดีนั้นเอง
๑๐ ) พุทธภาษิตพยายามไม่สอนให้พุทธบริษัทอย่าเชื้อถือสิ่งได้ด้วยการเด่า แต่ให้เชื่อหลักของพุทธศาสนาที่มีหลักการดีกว่า
๑๑ ) พุทธภาษิตเสนอหลักการให้มนุษย์ทำความดีงามเพราะเห็นแก่ความดี ไม่ทำความดีเพื่อมุ่งลาภ ยศ สรรเสริญ และพุทธศาสนาก็มีหลักการที่พิสูจน์ได้ทุกสมัย
๑๒ ) พุทธภาษิตต้องการให้มีความขยันหมั่นเพียร ไม่เกียจคร้าน ยิ่งเป็นฆราวาสย่อมต้องใช้หลักธรรมนี้ให้มาก เพราะการครองเรือนที่มีความสุขได้ต้องมีทรัพย์เป็นเครื่องค้ำจุน จึงจะตั้งตัวได้ดี
๑๓ ) พุทธภาษิตต้องการให้เอาชนะความชั่วด้วยความดี ให้ระงับการจองเวรต่อกัน และอย่าได้ก่อความวุ่นวายให้แก่ผู้อื่น ให้รู้จักการผูกไมตรีต่อกัน โดยการเอื้อเพื้อเผือแผ่แก่กันและกันคือสละสุขส่วนตนเพื่อประโยชน์สุขแก่มหาชน สละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ สละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิตและสุดท้ายก็สละชีวิตเพื่อรักษาธรรม
๑๔ ) พุทธภาษิตต้องการสอนให้มนุษย์มีความอดทน ต่อสู้กับความลำบากต่างๆเพื่อเอาชนะอุปสรรคทั้งหลาย ไม่เป็นคนอ่อนแอ และขณะเดียวเมื่อมีความสุขก็อย่าได้หลง ให้ตั้งตนอยู่ในความไม่ประมาท ชีวิตจึงจะพบกับความสุข ดังนั้นพุทธภาษิตก็ยังพยายามให้คนรู้จักรักษากายวาจาและใจของตนให้เป็นปกติ
๑๕ ) พุทธภาษิตต้องการเสื่อให้เห็นหลักการปกครองที่เป็นธรรม โดยยึดหลักความละอายต่อความบาป และความชั่วทั้งหลาย ทั้งผู้นำรัฐและผู้ปกครองในระดับท้องถิ่นควรมีหลักธรรมอย่างนี้ พุทธศาสนาสอนให้รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น อย่าดูหมิ่นผู้อื่นเพราะชาติตระกูล เพราะทรัพย์ และอย่ามีอคติต่อกัน เจ้านายก็ให้รู้จักใช้บ่าว ตลอดถึงการรู้จักเลือกคบกับมิตรที่ดี เว้นบาปมิตร
๑๖ ) พุทธภาษิตสอนให้ใช้ปัญญานำหน้าในการดำเนินชีวิต และสอนให้รู้จักการศึกษา เข้าหาผู้เป็นบัณฑิต และเว้นพาลชน เพื่อความก้าวหน้าแห่งตน และสอนให้รู้จักแบ่งปันกันเพื่อความผาสุขแห่งสังคม และอย่าได้ก่อศัตรูขึ้นมาโดยถือว่ามนุษย์ทุกคนไม่มีดีที่สมบูรณ์ แต่ให้มองหาความดีของผู้อื่น และสอนให้มองดูธรรมชาติโดยความเป็นจริง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงจะได้ไม่เป็นทุกข์ และต้องพยายามเดินตามแนวทางสายกลางย่อมเป็นประตนและผู้อื่นตลอดถึงประโยชน์สูงสุดคือพระนิพพาน
๑๗. ) พุทธภาษิตสอนให้ยึดปรมัตถ์ประโยชน์ อย่าหลงในสิ่งอันเป็นสิ่งสมมติอันเป็นสิ่งบัญญัติ แต่ดูโดยรู้เท่าทัน พยายามใช้ปัญญาเป็นเครื่องส่องทางแห่งชีวิตตน พุทธภาษิตสอนให้รู้จักตอบแทนผู้มีพระคุณว่าเป็นสิ่งมงคล และสอนให้รู้จักหลักการดำเนินไปสู่พระนิพพาน ว่าเป็นยอดแห่งความสุข
เป็นคำสอนที่ให้คติธรรมอันลึกซึ้งแก่ชาวอีสานมาอย่างยาวนาน และเป็นคำสอนในลักษณะเปรียบเทียบ หรือให้ชี้ให้เห็นสัจจธรรมในการดำเนินชีวิต ผญาภาษิตอีสานมีรากฐานมาจากคำสอนในทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะพุทธศาสนสุภาษิตที่มีอิทพลต่อคำผญาภาษิตอีสานเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะคนอีสานนิยมสอนบุตรธิดาของตนโดยทางอ้อม ไม่ได้สอนโดยทางตรง เมื่อท่านจะสอนในเรื่องใดท่านมักจะผูกเป็นคำอุปมาอุปไมย โดยกล่าวถึงข้อเท็จจริงคือความเป็นอยู่และกิริยาอาการหรือความประพฤติของคนหรือสัตว์ ไม่ว่าในทางดีหรือทางชั่วอันเป็นไปในทางรูปธรรม เพื่อให้เกิดแง่คิดในทางนามธรรมเป็นข้อเปรียบเทียบกับรูปธรรม ผญาภาษิตนี้ส่วนมาจากคำสอนในหนังสือวรรณคดีเรื่องต่างๆ
สุภาษิตอีสานโดยภาพรวมจึงเกิดมาจากวรรณคดีทั้งทางศาสนาและประเพณีวัฒธรรมของชาวอีสานเป็นส่วนใหญ่ เพราะวรรณกรรมทางภาษาซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตน คือใช้วรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายเป็นสื่อในการสั่งสอนจริยธรรมตลอดถึงวิถีดำเนินชีวิต ตามความเชื่อและมีการตัดสินความดีความชั่วในสังคมด้วย ดังนั้นสุภาษิตอันเกิดจากวรรณกรรมคำสอนทั้งสองสายจึงเป็นภาพสะท้อนถึงชีวิตคนและสังคมชาวอีสาน พอจะนำมากล่าวถึงมี ๔ ประการใหญ่ดังนี้ คือ
๒.๑.๒ ลักษณะของพุทธภาษิต
ลักษณะทั่วไปของพุทธศาสนสุภาษิตนั้นจัดแบ่งได้ ๒ ลักษณะ คือ ๑. ลักษณะทางฉันทลักษณ์ ๒. ลักษณะทางเนื้อหา
๑. ลักษณะทางฉันลักษณ์
เป็นคำร้อยกรองในภาษาบาลีเรียกว่า ฉันทลักษณะ เป็นคำประพันธ์ที่กำหนด ครุ ลหุ กำหนดจำนวนคำตามข้อบังคับของฉันท์แต่ละชนิด ฉันท์ ๑ บท เรียกว่า ๑ คาถา ฉันท์ ๑ คาถา มี ๔ บาท ฉันท์ ๑ บาทมี ๘ คำ ไม่เกิด ๑๑ คำ หรือ ๑๔ คำ ตามประเภทของฉันท์ นี้เป็นฉันท์ประเภทหนึ่งที่เรียนรู้และรู้จักกันเป็นอย่างดีในวงการภาษาบาลีในประเทศไทย ๖ ชนิด๕ คือ (๑ ) ปัฐยาวัตรฉันท์ (๒) อินทรวิเชียรฉันท์ (๓) อุเปนทรวิเชียรฉันท์ (๔) อินทรวงศ์ฉันท์ (๕) วังสัฏฐฉันท์ (๖) วสันตดิลกฉันท์
อีกนัยหนึ่งแบ่งตามลักษณะของวิธีการสอนของพระพุทธเจ้า ลักษณะเนื้อหาของพุทธภาษิต ผู้เชียวชาญทั้งหลายได้แบ่งเนื้อหาของสุภาษิตในพระพุทธศาสนาออกเป็นประเภทต่างๆ ตามลักษณะของรูปแบบคำสอนในพุทธศาสนาเรียกอีกอย่างว่า “นวังคสัตถุศาสตร์”๖ คือคำสอนของพระศาสดามีองค์ ๙ พุทธพจน์มีองค์ประกอบ ๙ อย่าง คือ
๑ ) สุตะ คือคำสั่งสอนที่เป็นพระสูตรและพระวินัย รวมทั้งคัมภีร์ทั้งสองด้วยโดยมีลักษณะเป็นสูตร ซึ่งประกอบไปด้วยระเบียบแบบแผนมีลำดับขั้นตอนต่างๆ อันมีข้อธรรมเป็นลักษณะคือ จากข้อหนึ่งถึงสิบข้อ
๒ ) เคยยะ คือ คำสอนที่เป็นลักษณะทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองผสมกัน ได้แก่พระสูตรที่มีคาถาทั้งหมด
๓ ) เวยยากรณะ (ไวยากรณ์) คือคำสอนเป็นแบบร้อยแก้วล้วนได้แก่พระอภิธรรมปิฏกทั้งหมด และพระสูตรที่ไม่มีคาถา
๔ ) คาถา คือ คำสอนแบบร้อยกรองล้วนๆ เช่น ธรรมบท, เถรคาถา, เถรีคาถา
๕ ) อุทาน คือ คำสอนที่เปล่งออกมาเป็นคำที่มีความหมายต่างๆตามสถานการณ์นั้นๆ เช่น สมัยเกิดความสังเวช , สมัยเกิดความปีติยินดีบ้าง ซึ่งเป็นพระคาถา ๘๒ สูตร
๖. ) อิติวุตตกะ เป็นเรื่อง อ้างอิง คือการยกมากล่าวอ้างของพระสังคีติกาจารย์ผู้รวบรวมโดยไม่บอกว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องเหล่านี้แก่ใคร ที่ไหนชื่อพระสูตรเหล่านี้มักขึ้นต้นด้วยคำว่า วุตตัง เหตัง ภควตา (พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดังนี้) เหมือนกันหมด จึงเรียกว่า อิติวุตตกะ แบ่งเป็น ๔ นิบาตมีทั้งหมด ๑๑๒ สูตร
๗ ) ชาดก คือ คำสอนที่กล่าวถึงเรื่องที่เกิดขึ้นมาแล้วในอดีตทั้งที่เป็นเรื่องราวในอดีตของพระพุทธเจ้าบ้าง สาวกบ้าง เป็นธรรมภาษิตในลักษณะการเล่านิทานธรรมอยู่ในเรื่อง ส่วนมากจะเป็นนิบาตชาดก
๘. ) อัพภูตธรรม คือคำสอนที่เป็นเรื่องราวอันน่าอัศจรรย์ใจหรือเรื่องปาฏิหาริย์
๙. ) เวทัลละ คือคำสอนที่สูงขึ้นไปตามลำดับ อาศัยการวิเคราะห์แยกแยะความหมายอย่างละเอียด เช่นพระอภิธรรมเป็นต้น
๒ ลักษณะทางเนื้อหา
เมื่อพิจารณาถึงเนื้อหาและความหมายของพุทธธรรมแล้วอาจแบ่งได้ ๒ ลักษณะด้วยกัน คือ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวงและสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอน
๒.๑ ลักษณะที่เป็นสิ่งทั้งปวง
ตามนัยนี้ มีความหมายปกคลุมทุกสิ่งทุกอย่างในจักรวาล รวมทั้งสิ่งที่เป็น สังขตะและอสังขตะ ทั้งที่เป็นรูปและเป็นนาม ทั้งส่วนที่เป็นโลกีย์และโลกุตตร๑
สังขตธรรม ได้แก่สิ่งทั้งปวงที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ซึ่งอาจทราบได้ในลักษณะต่อไปนี้ “มีเกิดขึ้นในเบื้องต้น เปลี่ยนแปลงไปในท่ามกลางและแตกดับไปในที่สุด”๒ อสังขตธรรมนี้ได้แก่พระนิพพาน อันเป็นความดับทุกข์โดยเด็ดขาด ไม่มีเหตุไม่มีปัจจัยอะไรปรุงแต่งได้เลย แต่มีลักษณะให้ทราบได้ ๓ ประการ คือ “ไม่เกิดขึ้นปรากฏ ไม่ดับไปปรากฎ และขณะที่ดำรงอยู่ก็ไม่มีความเปลี่ยนแปลงปรากฏ” ๓
มีข้อที่ควรทราบอีกอย่างหนึ่งคือ สังขตธรรมนั้นหมายเอาทั้งโลกุตตรธรรม ๘ ประการ อันมีมรรค ๔ ผล ๔ ด้วย ส่วนอสังขตธรรมหมายเอาพระนิพพานอย่างเดียว ซึ่งก็จัดว่าเป็นโลกุตตรธรรมเหมือนกัน ในพุทธศาสนาได้กล่าวถึงลักษณะของสิ่งทั้งปวงไว้หลายอย่าง เช่น ธรรมตา, ธรรมธาตุ, ธรรมฐิติตา, ธรรมนิยามตา, ซึ่งแต่ละคำก็เป็นเครื่องแสดงให้เห็นว่า พุทธธรรมะคือสิ่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ด้วยตัวเอง มีความถูกต้องและเป็นอิสระในตัวเองโดยสมบูรณ์ มันเป็นกฎของจักรวาลหรือเป็นกฎเกณฑ์อันหนึ่งของธรรมชาติ ซึ่งคงอยู่ชั่วนิรันด์และมิไดถูกสร้างขึ้นใหม่ เป็นสภาพที่มีอยู่อย่างนั้น พระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตาม มิได้ทรงอุบัติก็ตาม สภาวะที่เรียกว่า ธรรมะ นั้น ก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้เปลี่ยนแปลงอย่างอื่น ดังพุทธพจน์ตรัสว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งป่วงเป็นอนัตตา”๔
ทั้ง ๓ ลักษณะนี้เรียกว่ากฎของธรรมดาหรือธรรมชาติ ข้อหนึ่งและสองใช้กล่าวถึงธรรมชาติของสังขตธรรม คือธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่ง ส่วนข้อสุดท้ายใช้กล่าวถึงธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตานั้นใช้กล่าวถึงทั้งสังขตธรรมและอสังขตธรรม ดังพุทธพจน์ที่มาในคัมภีร์อังคุตตรนิกาย เป็นหลักฐานยืนยันข้อความข้างบนนั้นได้เป็นอย่างดีคือ
“ตถาคตเจ้าจะอุบัติขึ้นก็ตาม จะไม่อุบัติขึ้นก็ตามธรรมเหล่านี้ก็คงอยู่อย่านั้น ตั้งอยู่อย่างนั้น และเป็นอยู่อย่างนั้น คือสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ และธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ธรรมเหล่านี้ตถาคตได้รู้แจ้งแทงตลอดด้วยตนเองแล้วจึงได้นำมาประกาศแก่คนอื่น”
ได้ความว่าทั้งสังขตธรรมและสังขตธรรมที่กล่าวมานั้นรวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงอันเป็นสภาวะที่มีอยู่เดิม และคงอยู่อย่างนั้นพระพุทธเจ้าจะทรงอุบัติขึ้นก็ตามไม่ทรงอุบัติขึ้นก็ตาม จะรู้หรือไม่รู้ก็ตาม สภาวะนั้นก็คงอยู่อย่างนั้น มิได้ถูกสร้างขึ้นมิได้ถูกทำลายโดยผู้ใดผู้หนึ่ง พระพุทธเจ้ามิได้เป็นผู้สร้างขึ้น เป็นเพียงผู้ค้นพบแล้วนำมาสอนคนอื่นเท่านั้นดังพุทธพจน์ว่า “พวกเธอจงพยายามทำความเพียรบากบั่นเองเถิด เราตถาคตเป็น แต่ผู้บอกแนวทางให้เท่านั้น”๕
๒.๒.ลักษณะที่เป็นคำสอน
ลักษณะคำสอนนี้ก็รวมอยู่ในคำว่า สิ่งทั้งปวงนั้นเอง พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอย่างไรหรือมีอะไรที่พระพุทธองค์ทรงสอน และมีสิ่งใดที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงสั่งสอน พระพุทธเจ้าทรงรู้ทุกสิ่งทุกอย่างจึงมีพระนามว่า สัพพัญญู แต่พระองค์มิได้ทรงสอนทุกอย่างที่พระองค์ตรัสรู้ ทรงสั่งสอนเฉพาะสิ่งที่จำเป็นในการปฏิบัติ เพื่อความพ้นทุกข์เท่านั้น
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหมดรวมอยู่ในคำว่า ธรรมหรือคำว่าศาสนาซึ่งหมายเอาทั้งปริยัติ (ทฤษฎี)และปฏิบัติ และปฏิเวธคือการรู้แจ้งแทงตลอดด้วย จะเห็นได้ว่าพุทธภาษิตนั้นเป็นคติเตือนใจของพุทธศาสนิกชนได้ จนบางครั้งสามารถเป็นกำลังใจและสามารถมีผลทำให้คนหยุดกระทำความชั่วได้นอกจากนั้นสุภาษิตก็ยังได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็นพระธรรมวินัย เป็นที่พึ่งแทนพระองค์สมดังพุทธวจนะมาในมหาปรินิพพานสูตรความว่า
“อานนท์ พวกเธอทั้งหลายอาจจะคิดว่า พระธรรมวินัยมีพระศาสดาล่วงลับไปแล้ว พระศาสดาของพวกเราไม่มีแล้ว, อานนท์ พวกเธอทั้งหลายไม่ควรเข้าใจอย่างนั้นแล้ว สำหรับพวกเธอทั้งหลายนั่นแล จักเป็นศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย ในเมื่อเราตถาคตล่วงลับไปแล้ว”๖
พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรมแก่ประชาชนด้วยวิธี ๓ อย่างด้วยกัน และวิธีการทั้ง ๓ นี้ถือว่าเป็นหลักการสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งมีข้อดังนี้๗
๑) พระองค์ทรงสั่งสอนเพื่อให้ผู้ฟังรู้ยิ่งเห็นจริงในธรรมที่ควรรู้ควรเห็น
๒) ทรงสั่งสอนมีเหตุผลที่ผู้ฟังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้
๓) ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์คือผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่การปฏิบัติ
อีกนัยหนึ่งเนื้อหาสาระแห่งพระโอวาทที่พระองค์ทรงประทานแก่พุทธบริษัทเสมอๆนั้น ประมวลลงในหลักการ ๓ อย่างคือ๘
๑ ) สั่งสอนให้เว้นจากการทำบาปทั้งปวง ทุจริต
๒) สั่งสอนให้ทำกุศลทั้งปวง
๓) ทำจิตให้ผ่องแผ้ว
ในคัมภีร์ทีฆนิกายกล่าวยืนยันถึงสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธปัญหาทางอภิปรัชญา ๑๐ ประการเรียกว่า อพยากตปัญหาหรือปัญหาโลกแตก แต่พระองค์ทรงตรัสสอนอริยสัจ ๔ ประการเป็นคำสอนของพระองค์ คือ เรื่องทุกข์ เหตุให้ทุกข์เกิด ความดับทุกข์ และทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์เป็นคำสอนของเราตถาคต โปฏฐปาทะทูลถามต่อไปอีกว่าเพราะเหตุใดพระองค์จึงทรงสอนสิ่งเหล่านี้ พระพุทธเจ้าทรงตรัสอรรถาธิบายต่อไปอีกความว่า
“ที่เราสอนเรื่องนี้ เพราะมันเป็นประโยชน์ เป็นความจริง เป็นวิถีแห่งชีวิตอันประเสริฐ ไม่ติดอยู่ในโลก เป็นไปเพื่อดับตัณหา เป็นไปเพื่อความสงบระงับใจ เป็นไปเพื่อความรู้แจ้งเห็นจริง และเป็นไปเพื่อพระนิพพาน ดังนั้นเราจึงได้นำมาสอนแก่สาวกทั้งหลาย”๙
จากพุทธพจน์นี้ชี้ให้เห็นว่า อริยสัจ ๔ เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือเป็นคำสอนที่พระองค์ทรงเน้นให้เห็นถึงปัณหาชีวิตในปัจจุบันที่มนุษย์ทุกรูปทุกนามประสบอยู่สิ่งนั้นคือ ทุกข์ พระพุทธเจ้าทรงเห็นว่า ชีวิตเต็มไปด้วยทุกข์ในบางครั้งที่รู้สึกว่าเป็นสุขนั้นเป็นเพียงความหลงเท่านั้น ที่แท้แล้วสิ่งที่เรียกว่าสุขนั้น ก็คือความทุกข์นั้นเอง ทุกข์ดังกล่าวนี้เกิดมาจากตัณหา เมื่อไม่มีตัณหาก็ไม่มีทุกข์อีกต่อไป พุทธภาษิตแล้วมีลักษณะทางคำสอนดังนี้คือ
๑ )หลักคำสอนในพุทธศาสนา เป็นหลักธรรมทางเสรีภาพที่เก่าแก่ที่สุดในโลก มีหลักการและวิธีการอันไม่ประกอบด้วยกาลเวลา เมื่อบุคคลประพฤติปฏิบัติตามย่อมได้ผลทันตา
๒ ) พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนให้เลิกละความเป็นทาสภายในใจตนเองนั้นคือ โลภะ โทสะ โมหะ
๓.) พุทธองค์ทรงสอนให้มนุษย์ทั้งปวงอยู่กันด้วยความมีเสรีภาพไม่เบียดเบียนกัน ให้เลิกดูหมิ่นกัน เพราะถือชาติ วรรณะ โคตร โดยมองให้เห็นว่าเป็นแก่นสารแห่งชีวิต แต่กลับสอนให้มนุษย์มองถึงฝ่ายใน คือความมีศีลธรรมเป็นเกณฑ์ในการตัดสิ้นคนดีหรือชั่ว
๔.) หลักคำสอนของพระพุทธเจ้าสั่งสอนให้มนุษย์รู้จักการเสียสละ การเว้นการฆ่าสัตว์ตลอดถึงการทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน พุทธภาษิตเน้นวิธีการให้เกิดความสังคมสงเคราะห์ แทนการเอาเปรียบกันและกัน และสอนให้หันมาชำระจิตใจให้บริสุทธิ์สะอาดแทนซึ่งเป็นการทำบุญที่สูงสุด
๕ ) พุทธพุทธเจ้ามุ่งสั่งสอนวิธีตรงเข้าหาความจริงและให้รู้จักกับความเป็นจริงของชีวิต โดยมองว่าชีวิตมนุษย์มีความเกิดแก่เจ็บตาย เป็นกฎแห่งพระไตรลักษณ์ รวมทั้งสอนให้รู้จักดำเนินชีวิตให้ตรงไปตรงมาไม่ควรเชื้อเรื่องฤกษ์ยาม น้ำศักดิ์สิทธิ์ แต่กับสอนให้รู้จักทำช่วยตนเองเป็นหลักสำคัญ และสอนให้มนุษย์เข้าใจถึงการเกิดในภพต่างๆ เพราะแรงแห่งตัณหาเป็นปัจจัย
๖.) พุทธภาษิต เป็นวิธีการสอนให้แก้ความเสื่อมทางศีลธรรม โดยไม่มองข้ามปัญหาทางเศรษฐกิจ สอนให้แก้ความชั่วด้วยความความดี สอนให้แก้ที่ตัวเราเองก่อน โดยไม่คอยเกี่ยงให้คนทั้งโลกดีหมดแล้วจึงจะดีเป็นคนสุดท้าย
๗ ) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์ตระหนักถึงเรื่องของสติปัญญาในการดำเนินชีวิต โดยให้ใช้ความรอบคอบในการแก้ไขปัญหา ด้วยการพิจารณาให้เห็นสาเหตุแห่งทุกข์ แล้วแก้ไขให้ตรงจุด ไม่ให้เชื้ออย่างงายไร้เหตุผล
๘ ) พุทธภาษิตมุ่งเน้นให้มนุษย์ยึดถือธรรมเป็นใหญ่ เรียกว่าธรรมาธิปไตย ไม่ให้ยึดถือตนเป็นสำคัญ และให้ถือการปฏิบัติเป็นสำคัญในการบูชา
๙.) พุทธภาษิตมุ่งสอนให้มนุษย์พยายามพึ่งตนเอง และฝึกฝนตนเองมากกว่าพึงพาผู้อื่น เพื่อยกระดับชีวิตตนเองให้ก้าวหน้า ไม่สอนให้รอการอ้อนวอนบวงสรวงจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และยึดหลักว่ามนุษย์มีกรรมเป็นของๆตน ด้วยการทำดีได้ดีนั้นเอง
๑๐ ) พุทธภาษิตพยายามไม่สอนให้พุทธบริษัทอย่าเชื้อถือสิ่งได้ด้วยการเด่า แต่ให้เชื่อหลักของพุทธศาสนาที่มีหลักการดีกว่า
๑๑ ) พุทธภาษิตเสนอหลักการให้มนุษย์ทำความดีงามเพราะเห็นแก่ความดี ไม่ทำความดีเพื่อมุ่งลาภ ยศ สรรเสริญ และพุทธศาสนาก็มีหลักการที่พิสูจน์ได้ทุกสมัย
๑๒ ) พุทธภาษิตต้องการให้มีความขยันหมั่นเพียร ไม่เกียจคร้าน ยิ่งเป็นฆราวาสย่อมต้องใช้หลักธรรมนี้ให้มาก เพราะการครองเรือนที่มีความสุขได้ต้องมีทรัพย์เป็นเครื่องค้ำจุน จึงจะตั้งตัวได้ดี
๑๓ ) พุทธภาษิตต้องการให้เอาชนะความชั่วด้วยความดี ให้ระงับการจองเวรต่อกัน และอย่าได้ก่อความวุ่นวายให้แก่ผู้อื่น ให้รู้จักการผูกไมตรีต่อกัน โดยการเอื้อเพื้อเผือแผ่แก่กันและกันคือสละสุขส่วนตนเพื่อประโยชน์สุขแก่มหาชน สละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ สละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิตและสุดท้ายก็สละชีวิตเพื่อรักษาธรรม
๑๔ ) พุทธภาษิตต้องการสอนให้มนุษย์มีความอดทน ต่อสู้กับความลำบากต่างๆเพื่อเอาชนะอุปสรรคทั้งหลาย ไม่เป็นคนอ่อนแอ และขณะเดียวเมื่อมีความสุขก็อย่าได้หลง ให้ตั้งตนอยู่ในความไม่ประมาท ชีวิตจึงจะพบกับความสุข ดังนั้นพุทธภาษิตก็ยังพยายามให้คนรู้จักรักษากายวาจาและใจของตนให้เป็นปกติ
๑๕ ) พุทธภาษิตต้องการเสื่อให้เห็นหลักการปกครองที่เป็นธรรม โดยยึดหลักความละอายต่อความบาป และความชั่วทั้งหลาย ทั้งผู้นำรัฐและผู้ปกครองในระดับท้องถิ่นควรมีหลักธรรมอย่างนี้ พุทธศาสนาสอนให้รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น อย่าดูหมิ่นผู้อื่นเพราะชาติตระกูล เพราะทรัพย์ และอย่ามีอคติต่อกัน เจ้านายก็ให้รู้จักใช้บ่าว ตลอดถึงการรู้จักเลือกคบกับมิตรที่ดี เว้นบาปมิตร
๑๖ ) พุทธภาษิตสอนให้ใช้ปัญญานำหน้าในการดำเนินชีวิต และสอนให้รู้จักการศึกษา เข้าหาผู้เป็นบัณฑิต และเว้นพาลชน เพื่อความก้าวหน้าแห่งตน และสอนให้รู้จักแบ่งปันกันเพื่อความผาสุขแห่งสังคม และอย่าได้ก่อศัตรูขึ้นมาโดยถือว่ามนุษย์ทุกคนไม่มีดีที่สมบูรณ์ แต่ให้มองหาความดีของผู้อื่น และสอนให้มองดูธรรมชาติโดยความเป็นจริง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงจะได้ไม่เป็นทุกข์ และต้องพยายามเดินตามแนวทางสายกลางย่อมเป็นประตนและผู้อื่นตลอดถึงประโยชน์สูงสุดคือพระนิพพาน
๑๗. ) พุทธภาษิตสอนให้ยึดปรมัตถ์ประโยชน์ อย่าหลงในสิ่งอันเป็นสิ่งสมมติอันเป็นสิ่งบัญญัติ แต่ดูโดยรู้เท่าทัน พยายามใช้ปัญญาเป็นเครื่องส่องทางแห่งชีวิตตน พุทธภาษิตสอนให้รู้จักตอบแทนผู้มีพระคุณว่าเป็นสิ่งมงคล และสอนให้รู้จักหลักการดำเนินไปสู่พระนิพพาน ว่าเป็นยอดแห่งความสุข
Subscribe to:
Posts (Atom)