Wednesday 20 July 2011

ປາກົດຫຼັກຖານ ການຂຶ້ນເຮືອນໃໝ່ ນິຍົມນິມົນພຣະໄປຂຶ້ນກ່ອນ ໃນສັງຄີຕິສູຕ

- ການປຸກເຮືອນໃໝ່ ຄົນລາວດຽວນີ້ຖືກັນໜັກກັນໜາ ຕ້ອງໄປຊອກຫາມື້ຫາວັນດິບດີຈຶ່ງຈະໄດ້ລົງມືລົງເສົາແຮກເສົາເຂັມ ຕັ້ງເສົາແຮກເສົາແຮກແລ້ວຜູ້ມີເງິນກໍຮີບປຸກຮີບແລ້ວ, ບາງຄົນບໍ່ມີເງິນກໍຮີບລົງເສົາແຮກ ເອົາມື້ເອົາວັນດິບວັນດີ ປຸກແລ້ວຍາມໃດກໍບໍ່ເປັນຫຍັງ ຂໍແຕ່ໃຫ້ມື້ດີ ມີຫຼາຍຄົນ ຮີບແທ້ຮີບວ່າ ບາງຄົນຊ່າງປລັງຍັງບໍ່ທັນຜ່ານ, ບາງຄົນຊ່າງຍັງບໍ່ທັນໄດ້ຈ້າງ ຟ້ານິມົນພຣະມາສູດຖອດລົງເສົາເຂັມ ໄວ້ກ່ອນເອົາມື້ດີ ອັນນີ້ແລ່ນນໍາມື້ດີ, ບາງຄົນຟ້ານໍາປີ ຍິນເຂົາຊ່າລືກັນວ່າປີຂານປຸກເຮືອນບໍ່ໄດ້ວ່າຈັ່ງຊັ້ນ ກໍຟ້າວປຸກເຮືອນຕັ້ງເສົາແຮກ ເສົາຂວັນໄວ້ກ່ອນແຕ່ປີປີສະຫຼຸບພີ້ ທັງໆທີ່ຍັງບໍ່ທັນມີງົບປະມານພໍ, ແຕ້ມແບບຍັງບໍ່ທັນແລ້ວຊໍ້າ ຟ້າວລົງເສົາແຮກໄວ້ກ່ອນຮອດປີຂານຊິປຸກ ບໍ່ໄດ້, ມີເຈົ້າໜຶ່ງແລ່ນຕາລິງຕາຈໍມານິມົນພຣະໃຫ້ໄປສູດຕັ້ງເສົາແຮກມື້ອື່ນເຊົ້າ ເປັນ 9 ຄໍ່າ ນິມົນວັດອາຈານ 4 ອົງ ແລະນິມົນວັດຍາທ່ານອີກ 5 ລວມກັນເປັນ 9 ຮອດມື້ອື່ນເຊົ້າ ເຂົາມາຮັບເຫັນຍາທ່ານພ້ອມດ້ວຍພຣະນັ່ງຢູ່ພຸ້ນກ່ອນແລ້ວ ຈັ່ງແມ່ນມັນຄັກ ບໍ່ຈືເດືອນເພາະຕັ້ງແຕ່ປີສະຫຼຸ ພຸ້ນ ບາດໄປຮອດແລ້ວອີຫຍັງກະຍັງບໍ່ທັນມີ ເສົາກະຍັງບໍ່ທັນຂຸດ, ພາມຸງຄຸນຍັງບໍ່ທັນມີ, ເຄື່ອງສູດຖອດຍັງບໍ່ທັນຕັ້ງ, ເສົາຊິຕັ້ງຍັງບໍ່ທັນມີ ເອົາໄປເອົາມາໃຫ້ພຣະໄປນ່ັງໜາວຢູ່ກາງເດີນແຕ່ 7 ໂມງ ຈົນຮອດ 9 ໂມງ, (ວັ້ນນັ້ນກະແປກແທ້ແປກວ່າໜາວພິລຶກກຶກກີ) ບາດສູດແລ້ວ ເຂົາກໍນິມົນສັນເຂົ້າເຮືອນເຂົາເພາະຈວນເພນ, ສ່ວນຍາທ່ານຄານິມົນທີ່ອື່ນກັບໄປກ່ອນ ຈຶ່ງຖາມເຈົ້າຂອງປຸກເຮືອນວ່າ ເປັນຫຍັງຄືປຸກຟ້າວປຸກ ຟັ່ງແທ້ ອີສັງກະຍັງບໍ່ທັນແລ້ວ ຮ່າວມາລົງເສົາແຮກ, ຈັກແລ້ວເພິ່ນວ່າປີໜ້າ(ປີຂານ) ປຸກເຮືອນບໍ່ໄດ້ ແລະວັນນີ້ກະເປັນວັນດີ ເພິ່ນວ່າຈັ່ງຊັ້ນ ກະເລີຍອິລຸບປຸບປັບ ເຮັດຫຍັງນຳບໍ່ທັນ.
- ອາຕະມາວ່າ ອືມ໌.....ວັນນີ້ກະຊົງດີອີຫຼືໃດ ໜາວແທ້ໜາວວ່າ ໜາວແບບບໍ່ມີໃນປະຫວັດການເລີຍ, ຈາກວັນນັ້ນ ເຖິງວັນນີ້ ເຮືອນຫຼັງນັ້ນ ຍັງບໍ່ທັນໄດ້ປຸກຊ້ຳ.
- ບາດນີ້ມາເວົ້າເລື່ອງປຸກແລ້ວ ພັດມີແນວມາວ່າ ແທນທີ່ຊິເອົາພຣະສົງອົງຄະເຈົ້າໄປຂຶ້ນເຮືອນ ຫາມື້ດີ ມື້ງາມເໝືອນກັບຕອນປຸກ, ກັບມີ ຄຳເວົ້າໃໝ່ອອກມາອີກວ່າ ປຸກເຮືອນແລ້ວ ໃຜຊິເອົາພຣະມາຂຶ້ນກ່ອນລະ ເຮືອນເຈົ້າຍັງໃໝ່ຢູ່, ບາງກໍວ່າຢູ່ໄປກ່ອນ 1 ປີ, ບາງກໍວ່າ ຢູ່ໄປກ່ອນຮອດ 3 ປີ, ບາດຮອດ 1 ຫຼື 3 ປີ ແລ້ວກໍມີຄຳເວົ້າເຂົ້າມາອີກວ່າ ຕ້ອງເຮັດບຸນເຮືອນໄປອີກ 3. ປີຊ້ອນ.
- ທີ່ຍົກຕົວຢ່າງມາຂ້າງເທິງນັ້ນ ເປັນຕົວຢ່າງທີ່ເກີດມາໃນສັງຄົມເມືອງ ໂດຍສະເພາະນະຄອນຫຼວງວຽງຈັນ ອາດຊິຂະຫຍາຍຕົວໄປຮອດ ບ້ານນອກ ແລະເມືອງນອກໆແລ້ວ, ເພາະປະເພນີແບບນີ້ເກີດຂຶ້ນທີ່ວຽງຈັນກ່ອນ ມັນຍ່ອມມີອິດທິພົນຕໍ່ຄົນຊົນນະບົດເປັນຢ່າງຍິ່ງ ຫາກແນວຄິດນີ້ຂະຫຍາຍຕົວໄປ ຄົງຈະໄວວາ ເພາະການສື່ສານສະດວກກວ່າແຕ່ເດີມ.
- ເມື່ອຄວາມຄິດແບບ ນີ້ຖືກຂະຫຍາຍຕົວໄປທົ່ວສັງຄົມ ກໍບໍ່ສາມາດທີ່ຈະລະເລີກໄດ້ ກໍພາກັນເຮັດຈົນກາຍເປັນປະເພນີ. ຜູ້ສຶບທອດກໍວ່າ ເປັນການປະຕິບັດຖືກ ເພາະເຫັນວ່າຜູ້ເຖົ້າຜູ້ແກ່ພາເຮັດ, ຈິງຢູ່ວ່າປະເພນີ ເປັນສິ່ງທີ່ຄວນຢຶດໝັ້ນ ຢຶດຖື ແຕ່ປະເພນີບາງປະເພນີ ຂັດຕາມຫຼັກ ຄຳສອນກໍດີ, ເປັນຫົນທາງແຫ່ງຄວາມເສື່ອມ, ບໍ່ກໍ່ເກີດທາງບຸນ ກໍບໍ່ຄວນສົ່ງເສີມ ແລະສະໜັບສະໜຸນ, ອີກອັນໜຶ່ງ ຫາກພຶດຕິກັມໃດ ທີ່ກາຍເປັນປະເພນີ ຫາກອະທິບາຍທາງເຫດຜົນບໍ່ໄດ້, ບໍ່ມີຫຼັກຖານອ້າງພໍເໝາະ ກໍຍິ່ງບໍ່ສົມຄວນຈະສົ່ງເສີມ ນັກປາດ ຫຼືທ່ານຜູ້ຮູ້ຄວນແນະ ນຳກ່າວເຕືອນ ຫາກເຮົາເປັນຊາວພຸດແທ້ ເວັ້ນເສັຍແຕ່ບາງທ່ານ ບາງຄົນບໍ່ແມ່ນຊາວພຸດນັ້ນ ກໍຍົກເປັນເລື່ອງໜຶ່ງ ເພາະວິທິ ຫຼືປະເພນີຄວາມ ເຊື່ອຂອງຄົນຕ່າງສາສນາ ແລະວັດທະນະທັມກໍຍ່ອມຕ່າງກັນເປັນທັມມະດາ ອັນນັ້ນກໍບໍ່ວ່າກັນ.
- ແຕ່ຫາກເປັນວິທີຂອງຊາວພຸດແລ້ວ ທຸກໆ ຢ່າງໃນກິດຈະກັມຂອງຊີວິດເຮົາ ຍ່ອມເອົາຄຳສອນ ແລະແນວທາງຂອງພຸດທະສາສນານໍາໜ້າ, ເຊັ່ນການຖືຣຶກງາມຍາມດີນີ້ ຫາກເປັນພຸດທະແທ້ ທີ່ເດີນຕາມທາງປາຣະມັດແທ້ ເພີ່ນຈະບໍ່ຖືກຣືກຖືຍາມເດັດຂາດ, ເພິ່ນຖືກວ່າ ຣືກດີ, ຍາມດີ, ຊົ່ວດີ, ຂະນະດີ, ບຸກຄົນດີ ແລະອື່ນຍ່ອມເປັນມຸງຄຸນທັງນັ້ນ ໂດຍສະເພາະຫາກບຸກຄົນດີ ທຸກຢ່າງຍ່ອມດີ, ການປະກອບກິດທາງ ສາສນາແມ່ນທຳປັດຈຸບັນໃຫ້ດີນັ້ນແມ່ນດີທີ່ສຸດ.
- ເຖິງປານນັ້ນ ຂັ້ນພຣະວິໄນ ແລະພິທີກັມທາງພຸດທະສາສນາກໍໃຫ້ກຳນົດຣືກ ພໍສົມຄວນ ຄື ລົງອຸໂປສົດຍາມວັນສິນ, ການໄຫວ້ພຣະເຊົ້າ ການໄຫວ້ພຣະເດີກ, ການໄຫວ້ພຣະແລງເປັນອາຈີນ, ການເຂົ້າພັນສາ ການອອກພັນສາ ຕ້ອງເຂົ້າແລະອອກຕາມພຸດທະບັນຍັດເທົ່ານັ້ນ ແມ່ນກະທັງການທຳກະຖິນ ເຂດກະໂິນກໍມີກຳນົດຕາຍຕົວ, ນອກນັ້ນ ແມ່ນເຮັດຕາມການຕົກລົງເໝາະສົມ ສັງຄົມນັ້ນໆ ກຳນົດຂຶ້ນເອງ ແລະພ້ອມກັນປະຕິບັດ ກໍຖືວ່າເປັນເລື່ອງດີ ເລື່ອງມຸງຄຸນ.
- ກ່ຽວກັບ ການເຮັດບຸນຂຶ້ນເຮືອນໃໝ່ນັ້ນ ເຖິງວ່າບໍ່ເປັນປະເພນີ ທີ່ພຣະພຸດທະອົງກຳນົດໄວ້ ແຕ່ປາກົດເວັນວ່າ ໃນສະໄໝພຸດທະການນັ້ນ ກໍມີຄວາມນິຍົມ ນິມົນພຣະສົງຂຶ້ນເຮືອນໃໝ່ ເພື່ອເປັນສີຣິມຸງຄຸນເຊັ່ນກັນ ດັ່ງເຮົາພົບໃນພຣະໄຕປິດົກ ສັງຄີຕິສູດ ດັ່ງລຸ່ມນີ້:

สังคีติสูตร
ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเสด็จเที่ยวจาริกไปในแคว้นมัลละ พร้อมด้วย พระภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป ได้เสด็จถึงนครของพวกมัลลกษัตริย์อัน มีนามว่า ปาวา ได้ยินว่า สมัยนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ สวนมะม่วง ของนายจุนทกัมมารบุตร เขตนครปาวา ฯ

ก็โดยสมัยนั้นแล ท้องพระโรงหลังใหม่ อันมีนามว่า อุพภตกะ ของพวกเจ้ามัลละแห่งนครปาวา สร้างสำเร็จแล้วไม่นาน ยังไม่ทันที่สมณพราหมณ์ หรือใครๆ ที่เป็นมนุษย์จะได้อยู่อาศัย พวกเจ้ามัลละแห่งนครปาวาได้สดับข่าวว่า พระผู้มีพระภาคได้เสด็จเที่ยวจาริกไปในแคว้นมัลละ พร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์หมู่ ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป เสด็จถึงนครปาวาโดยลำดับ กำลังประทับอยู่ ณ สวน มะม่วงของนายจุนทกัมมารบุตร เขตนครปาวา ฯ

ครั้งนั้นแล พวกเจ้ามัลละแห่งนครปาวา ได้พากันเข้าไปเฝ้าพระผู้มี พระภาคถึงที่ประทับ ครั้นแล้วถวายบังคมพระผู้มีพระภาค นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ท้องพระโรงหลังใหม่ อันมีนามว่าอุพภตกะ ของ พวกเจ้ามัลละแห่งนครปาวา สร้างสำเร็จแล้วไม่นาน ยังไม่ทันที่สมณพราหมณ์ หรือใครๆ ที่เป็นมนุษย์จะได้อยู่อาศัย ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาค จงเสด็จประทับ ณ ท้องพระโรงนั้นก่อนเถิด พระผู้มีพระภาคเสด็จประทับก่อนแล้ว ภายหลังพวกเจ้ามัลละแห่งนครปาวาจึงจักใช้สอย การเสด็จประทับก่อนของพระผู้มี พระภาคนั้น พึงเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อความสุขแก่พวกเจ้ามัลละ แห่งนครปาวาสิ้นกาลนาน พระผู้มีพระภาคทรงรับด้วยดุษณีภาพแล้ว ฯ

ครั้นพวกเจ้ามัลละแห่งนครปาวา ได้ทราบการทรงรับของพระผู้มีพระภาค แล้ว จึงลุกจากอาสนะ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคทำประทักษิณแล้ว พากันไปยัง ท้องพระโรง ครั้นแล้วจึงปูลาดท้องพระโรงให้พร้อมสรรพ แต่งตั้งอาสนะ ให้ตั้ง หม้อน้ำ ตามประทีปน้ำมัน แล้วพากันเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวาย บังคมพระผู้มีพระภาค ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาค ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ท้องพระโรงพวกข้าพระองค์ปูลาดพร้อมสรรพแล้ว อาสนะก็แต่งตั้งไว้แล้ว หม้อน้ำก็ให้ตั้งไว้แล้ว ประทีปน้ำมันก็ตามไว้แล้ว พระเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคย่อมทรงทราบกาลอันควรในบัดนี้ ฯ

ลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคทรงครองอันตรวาสกแล้ว ทรง ถือบาตรจีวรเสด็จไปยังท้องพระโรง พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ ทรงล้างพระบาทแล้ว เสด็จเข้าไปยังท้องพระโรง ประทับนั่งพิงเสากลาง ผินพระพักตร์ไปทางทิศบูรพา แม้พระภิกษุสงฆ์ก็ล้างเท้าแล้วพากันเข้าไปยังท้องพระโรง นั่งพิงฝาด้านหลัง ผิน หน้าไปทางทิศบูรพา แวดล้อมพระผู้มีพระภาค แม้พวกเจ้ามัลละแห่งนครปาวา ก็พากันล้างเท้าแล้วเข้าไปยังท้องพระโรง นั่งพิงฝาด้านบูรพา ผินหน้าไปทางทิศ ปัจฉิมแวดล้อมพระผู้มีพระภาค ฯ

ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคทรงยังพวกเจ้ามัลละแห่งนครปาวาให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้อาจหาญ ให้รื่นเริง ด้วยธรรมีกถาตลอดราตรีเป็นอันมาก แล้ว ทรงส่งไปด้วยพระดำรัสว่า ดูกรวาเสฏฐะทั้งหลาย ราตรีล่วงมากแล้ว บัดนี้พวก ท่านจงสำคัญเวลาอันสมควรเถิด พวกเจ้ามัลละแห่งนครปาวาได้พร้อมกันรับ พระดำรัสของพระผู้มีพระภาคว่า อย่างนั้น พระเจ้าข้า แล้วพากันลุกขึ้นจากอาสนะ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค กระทำประทักษิณแล้วหลีกไป ฯ

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาค เมื่อพวกเจ้ามัลละแห่งนครปาวา หลีกไปแล้วไม่นาน ได้ทรงเหลียวดูหมู่ภิกษุผู้นิ่งอยู่แล้วได้รับสั่งกะท่านพระสารีบุตรว่า ดูกรสารีบุตร ภิกษุสงฆ์ปราศจากถีนะและมิทธะ สารีบุตรจงแสดงธรรมีกถา แก่ภิกษุทั้งหลาย เราเมื่อยหลัง ฉะนั้น เราพึงพักผ่อน ท่านพระสารีบุตรได้ รับพระดำรัสของพระผู้มีพระภาคด้วยคำว่า อย่างนั้น พระเจ้าข้า ดังนี้ ลำดับนั้น แล พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ปูผ้าสังฆาฏิเป็นสี่ชั้น แล้วทรงสำเร็จสีหไสยา โดยพระปรัศว์เบื้องขวา ทรงเหลื่อมพระบาทด้วยพระบาท มีพระสติสัมปชัญญะ ทรงกระทำความหมายในอันที่จะเสด็จลุกขึ้นไว้ในพระทัย ฯ

ก็โดยสมัยนั้นแล นิครนถ์นาฏบุตรทำกาละแล้วที่นครปาวาไม่ นานนัก เพราะกาลกิริยาของนิครนถ์นาฏบุตรนั้น พวกนิครนถ์จึงแตกกัน เกิด แยกกันเป็นสองพวก เกิดบาดหมางกัน เกิดการทะเลาะวิวาทกันขึ้น เสียดแทง กันและกันด้วยหอกคือปากอยู่ว่า ท่านไม่รู้ทั่วถึงธรรมวินัยนี้ ข้าพเจ้ารู้ทั่วถึง ท่าน จักรู้ทั่วถึงธรรมวินัยนี้ได้อย่างไร ท่านปฏิบัติผิด ข้าพเจ้าปฏิบัติถูก ถ้อยคำของ ข้าพเจ้าเป็นประโยชน์ ของท่านไม่เป็นประโยชน์ คำที่ควรจะกล่าวก่อน ท่าน กลับกล่าวภายหลัง คำที่ควรจะกล่าวภายหลัง ท่านกลับกล่าวก่อน ข้อที่ท่านช่ำชอง มาผันแปรไปแล้ว ข้าพเจ้าจับผิดวาทะของท่านได้แล้ว ข้าพเจ้าข่มท่านได้แล้ว ท่านจงถอนวาทะเสีย มิฉะนั้นจงแก้ไขเสีย ถ้าสามารถ ดังนี้ เห็นจะมีแต่ความ ตายอย่างเดียวเท่านั้นจะเป็นไปในพวกนิครนถ์ ผู้เป็นสาวกของนาฏบุตร ถึงพวก สาวกของนิครนถ์นาฏบุตรที่เป็นคฤหัสถ์ผู้นุ่งขาวห่มขาวก็มีอาการเบื่อหน่าย คลาย ความรัก รู้สึกท้อถอยในพวกนิครนถ์ผู้เป็นสาวกของนาฏบุตร ทั้งนี้เพราะธรรมวินัย อันนิครนถ์นาฏบุตรกล่าวไว้ไม่ดี ประกาศไว้ไม่ดี ไม่เป็นธรรมที่จะนำผู้ปฏิบัติให้ ออกจากทุกข์ได้ ไม่เป็นไปเพื่อความสงบระงับ มิใช่ธรรมที่ท่านผู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประกาศไว้ เป็นธรรมวินัยมีที่พำนักอันทำลายเสียแล้ว เป็นธรรมวินัย ไม่มีที่พึ่งอาศัย ฯ

ครั้งนั้นแล ท่านพระสารีบุตรได้เล่ากะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย นิครนถ์นาฏบุตรทำกาละแล้วที่พระนครปาวาไม่นานนัก เพราะกาลกิริยาของนิครนถ์ นาฏบุตรนั้น พวกนิครนถ์จึงแตกกัน เกิดแยกกันเป็นสองพวก เกิดบาดหมางกัน เกิดการทะเลาะวิวาทกันขึ้น เสียดแทงกันและกันด้วยหอกคือปากอยู่ว่า ท่านไม่รู้ทั่ว ถึงธรรมวินัยนี้ ข้าพเจ้ารู้ทั่วถึง ท่านจักรู้ทั่วถึงธรรมวินัยนี้ได้อย่างไร ท่านปฏิบัติผิด ข้าพเจ้าปฏิบัติถูก ถ้อยคำของข้าพเจ้าเป็นประโยชน์ ของท่านไม่เป็นประโยชน์ คำที่ ควรจะกล่าวก่อน ท่านกลับกล่าวภายหลัง คำที่ควรจะกล่าวภายหลัง ท่านกลับกล่าว ก่อน ข้อที่ท่านเคยช่ำชองมาผันแปรไปแล้ว ข้าพเจ้าจับผิดวาทะของท่านได้แล้ว ข้าพเจ้าข่มท่านได้แล้ว ท่านจงถอนวาทะเสีย มิฉะนั้น จงแก้ไขเสีย ถ้าสามารถ ดังนี้ เห็นจะมีแต่ความตายอย่างเดียวเท่านั้นจะเป็นไปในพวกนิครนถ์ ผู้เป็นสาวก ของนาฏบุตร ถึงพวกสาวกของนิครนถ์นาฏบุตรที่เป็นคฤหัสถ์ผู้นุ่งขาวห่มขาว ก็มี อาการเบื่อหน่าย คลายความรัก รู้สึกท้อถอยในพวกนิครนถ์ ผู้เป็นสาวกของ นาฏบุตร ทั้งนี้ เพราะธรรมวินัยอันนิครนถ์นาฏบุตรกล่าวไว้ไม่ดี ประกาศไว้ไม่ดี ไม่เป็นธรรมที่จะนำผู้ปฏิบัติให้ออกจากทุกข์ได้ ไม่เป็นไปเพื่อความสงบระงับ มิใช่ ธรรมที่ท่านผู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประกาศไว้ เป็นธรรมวินัยมีที่พำนักอันทำลาย เสียแล้ว เป็นธรรมวินัยไม่มีที่พึงอาศัย ฯ

ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ข้อนี้ย่อมเป็นเช่นดังกล่าวมาสำหรับในธรรมวินัยที่ กล่าวไว้ไม่ดี ประกาศไว้ไม่ดี ไม่เป็นธรรมที่จะนำผู้ปฏิบัติให้ออกจากทุกข์ได้ ไม่เป็นไปเพื่อความสงบระงับ มิใช่ธรรมที่ท่านผู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประกาศไว้ ผู้มีอายุทั้งหลาย ส่วนธรรมนี้แล อันพระผู้มีพระภาคของเราทั้งหลาย ตรัสไว้ดี แล้ว ประกาศไว้ดีแล้ว เป็นธรรมที่จะนำผู้ปฏิบัติให้ออกจากทุกข์ได้ เป็นไปเพื่อ ความสงบระงับ เป็นธรรมอันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประกาศไว้แล้ว พวกเราทั้งหมด ด้วยกัน พึงสังคายนา ไม่พึงกล่าวแก่งแย่งกันในธรรมนั้น การที่พรหมจรรย์นี้จะ พึงยั่งยืนตั้งอยู่นาน นั้นพึงเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ชนมาก เพื่อความสุขแก่ชน มาก เพื่อความอนุเคราะห์แก่โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ผู้มีอายุทั้งหลาย ก็ธรรมอะไรเล่าที่พระผู้มีพระภาค ตรัสไว้ดีแล้ว ประกาศไว้ดีแล้ว เป็นธรรมที่จะนำผู้ปฏิบัติให้ออกจากทุกข์ได้ เป็น ไปเพื่อความสงบระงับ เป็นธรรมอันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประกาศไว้แล้ว พวก เราทั้งหมดด้วยกัน พึงสังคายนา ไม่พึงกล่าวแก่งแย่งกันในธรรมนั้น การที่พรหมจรรย์นี้จะพึงยั่งยืนตั้งอยู่นาน นั้นพึงเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ชนมาก เพื่อความสุข แก่ชนมาก เพื่อความอนุเคราะห์แก่โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อความ สุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ฯ

หมวด ๑
ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรมหนึ่ง ที่พระผู้มีพระภาค ผู้ทรงรู้เห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ตรัสไว้โดยชอบแล้วมีอยู่แล พวก เราทั้งหมดด้วยกันพึงสังคายนา ไม่พึงกล่าวแก่งแย่งกันในธรรมนั้น การที่ พรหมจรรย์นี้จะพึงยั่งยืนตั้งอยู่นาน นั้นพึงเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ชนมาก เพื่อ ความสุขแก่ชนมาก เพื่อความอนุเคราะห์แก่โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ธรรมหนึ่งเป็นไฉน สัตว์ทั้งหมดตั้งอยู่ ได้เพราะอาหาร สัตว์ทั้งหมดตั้งอยู่ได้เพราะสังขาร ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรม หนึ่งนี้แล อันพระผู้มีพระภาคผู้ทรงรู้ทรงเห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์นั้น ตรัสไว้โดยชอบแล้ว พวกเราทั้งหมดด้วยกันพึงสังคายนา ไม่พึง กล่าวแก่งแย่งกันในธรรมนั้น การที่พรหมจรรย์นี้จะพึงยั่งยืนตั้งอยู่นาน นั้นพึงเป็น ไปเพื่อประโยชน์แก่ชนมาก เพื่อความสุขแก่ชนมาก เพื่อความอนุเคราะห์แก่โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ฯ

No comments:

Post a Comment