Wednesday 20 July 2011

ເຣື່ອງ: ອະໄພຣາຊະກຸມານ.

- ຂ້າພະເຈົ້າໄດ້ສະດັບມາຢ່າງນີ້ :-
- ສະໄໝໜຶ່ງ ພຣະຜູ້ມີພຣະພາກເຈົ້າ ປະທັບຢູ່ ນະເວລຸວັນກະລັນທະກະນິວາປະສະຖານ ເຂດພຣະນະຄອນຣາຊະຄື, ຄັ້ງນັ້ນພຣະຣາຊະ ກຸມານພຣະນາມວ່າ ອະໄພ ສະເດັດໄປຫານິຄຣົນຕະບຸດ ທີ່ຢູ່ຊົງອະພິວາທະນິຄຣົນຖ໌ນາບຸດແລ້ວ ປະທັຍນັ່ງນະທີ່ຄວນສ່ວນຂ້າງໜຶ່ງ.
- ນິຄຣົນຖ໌ນາບຸດ ໄດ້ທູນອະໄພຣາຊະກຸມານວ່າ ໄປເຖີດພຣະຣາຊະກຸມານ ເຊີນພຣະອົງ ທົງຍົກວາທະແກ່ພຣະສະມະນະໂຄດົມ, ເມື່ອພຣະສະມະນະໂຄດົມຢ່າງໜີແລ້ວ ກິດຕະສັບອັນງາມຂອງພຣະອົງຈັກລືກະສ່ອນໄປວ່າ ອະໄພຣາຊະກຸມານຊົງຍົກວາທະແກ່ພຣະສະ ມະນະໂຄດົມຜູ້ມີຣິດ ມີອານຸພາບມາກ ຢ່າງນີ້.
- ອະໄພຣາຊະກຸມານຕັດຖາມວ່າ ທ່ານຜູ້ຈະເຣີຍ ກໍຂ້າພະເຈົ້າຈະຍົກວາທະແກ່ພຣະສະມະນະໂຄດົມ ຜູ້ມີຣິດມາກ ມີອານຸພາບມາກຢ່າງນີ້ ໄດ້ຢ່າງໃດ ?
- ນິຄຣົນຖ໌ນາຕບຸດທູນວ່າ ໄປເຖີດ ພຣະຣາຊະກຸມານ ເຊີນພຣະອົງສະເດັດໄປເຝົ້າພຣະສາມະນະໂຄດົມ ເຖິງທີປະທັບ ແລ້ວຈົ່ງທູນຖາມ ພຣະສະມະນະໂຄດົມຢ່າງນີ້ວ່າ :-
- ຂ້າແຕ່ ພຣະອົງຜູ້ຈະເຣີນ ພຣະຕະຖາຄົດຈະເພິ່ງ ຕັດພຣະວາຈາອັນບໍ່ເປັນທີ່ຊອບຂອງຄົນອື່ນແນ່ຫຼືນໍ ? ຖ້າພຣະສະມະໂຄດົມຖືກຖາມ ຢ່າງໜີ້ແລ້ວ ຈະຊົງຍົກພຣະຍາກອນວ່າ ດູກ່ອນຣາຊະກຸມານ ຕະຖະຄົດເພິ່ງກ່າວວາຈາອັນເປັນທີ່ຮັກ ບໍ່ເປັນທີ່ຊອບໃຈຂອງຄົນອື່ນ ດັ່ງນີ້ແລ້ວແລ, ພຣະອົງເພິ່ງທູນພຣະສະມະນະໂຄດົມວ່າຢ່າງນີ້, ຂ້າແຕ່ພຣະອົງຜູ້ຈະເຣີນ ເມື່ອເປັນຢ່າງນັ້ນ ການກະທໍາຂອງພຣະອົງ ຈະຕ່າງອັນໃດຈາກປຸຖຸຊົນລະ, ເພາະແມ່ປຸຖຸຊົນກໍເພິ່ງກ່າວວາຈາອັນບໍ່ເປັນທີ່ຮັກ, ບໍ່ເປັນທີ່ຊອບໃຈຂອງຄົນອື່ນ ຖ້າພຣະສະມະນະໂຄ ດົມຖືກຖາມຢ່າງນີ້ແລ້ວ ຊົງພະຍາກອນຢ່າງນີ້ວ່າ ດູກ່ອນຣາຊະກຸມານ ຕະຖາຄົດບໍ່ເພິ່ງກ່າວວາຈາອັນບໍ່ເປັນທີ່ຮັກ, ບໍ່ເປັນທີ່ຊອບໃຈຂອງ ຄົນອື່ນ ດັ່ງນີ້ແລ້ວແລ, ພຣະອົງເພິ່ງທູນພຣະສະມະໂຄດົມຢ່າງນີ້ ວ່າ, ຂ້າແຕ່ພຣະອົງຜູ້ຈະເຣີນ ເມື່ອເປັນຢ່າງນັ້ນ ຢ່າງໄດ, ພຣະອົງຈຶ່ງຊົງພຣະຍາກອນພຣະເທວະທັຕ ເທວະທັຕຈັກເກີດໃນອະບາຍ ຈັກເກີດໃນນະຣົກ ຕັ້ງຢູ່ສິ້ນກັປໜຶ່ງ ເປັນຜູ້ອັນໃຄຢຽວຢາບໍ່ໄດ້ ດັ່ງນີ້ ເພາະພຣະວາຈາຂອງພຣະອົງນັ້ນ, ພຣະເທວະທັດ ໂກດເສັຍໃຈ ດູກ່ອນພຣະຣາຊະກຸມານ ພຣະສະມະນະໂຄດົມຖືກພຣະອົງທູນຖາມ ບັນຫາສອງເງື່ອນນີ້ແລ້ວ, ຈະບໍ່ອາດກືນເຂົ້າ ບໍ່ອາດຄາຍອອກໄດ້ເລີຍ, ປຽບເໝືອນກະຈັບເຫຼັກທີ່ຕິດຢູ່ໃນຄໍຂອງບູຣຸດ, ບູຣຸດນັ້ນຈະບໍ່ອາດ ກືນເຂົ້າ ບໍ່ອາດຄາຍອອກໄດ້ສັນໃດ, ດູກ່ອນກຸມານ ພຣະສະມະນະໂຄດົມກໍສັນນັ້ນ, ຖືກພຣະອົງທູນບັນຫາສອງເງື່ອນນີ້ແລ້ວ ຈະບໍ່ອາດ ກືນເຂົ້າ ບໍ່ອາດຄາຍອອກໄດ້ເລີຍ.
- ອະໄພກຸມານຮັບຄໍານິຄຣົນຖ໌ນາຕບຸດແລ້ວ ສະເດັດລຸກຈາກອາສະນະຊົງອະພິວາດນິຄຣົນຖ໌ນາຕບຸດ ຊົງປະທັກຂີນແລ້ວ ສະເດັກເຂົ້າໄປ ເຝົ້າພຣະຜູ້ມີພຣະພາຄເຖິງທີ່ປະທັບ ແລ້ວຖວາຍບັງຄົມພຣະຜູ້ມີພຣະພາຄແລ້ວ ປະທັຍນັ່ງນະທີ່ຄວນສ່ວນຂ້າງໜຶ່ງ, ຄັນແລ້ວຊົງແຫງນເບິ່ງພຣະອາທິດ ຊໄງພຣະດຳຣິວ່າ ວັນນີ້ມິໄຊ່ການ ຈະຍົກວາທະແກ່ພຣະຜູ້ມີພຣະພາຄ ມື້ອື່ນເຖີ້ນ, ເຮົາຈັກຍົກວາທະແກ່ພຣະຜູ້ມີພຣະພາຄ ໃນນິເວດຂອງເຮົາ ດັ່ງນີ້ແລ້ວ ຈຶ່ງຂາບທູນພຣະຜູ້ມີພຣະພາຄວ່າ, ຂ້າແຕ່ພຣະອົງຜູ້ຈະເຣີນ ຂໍພຣະຜູ້ມີພຣະພາຄ ມີພຣະອົງ ເປັນທີ 4 ຈົ່ງຮັບພັດຕາການຂອງຂ້ານ້ອຍ, ເພື່ອສະເຫວີຍໃນມື້ອື່ນ, ພຣະຜູ້ມີພຣະພາຄຊົງຮັບດ້ວຍ ດຸສະນີຍະພາບ.
- ລຳດັບນັ້ນ, ອະໄພຣາຊະກຸມານຊົງຊາບວ່າ ພຣະຜູ້ມີພຣະພາກຊົງຮັບແລ້ວ ກໍສະເດັກລຸກຈາກອາສະນະ ຖວາຍບັງຄົມພຣະຜູ້ມີພຣະພາຄ ທຳປະທັກຂີນແລ້ວສະເດັດຫຼີກໄປ, ຄັ້ງນັ້ນ ພໍລ່ວງຣາຕຣີນັ້ນໄປ ເວລາເຊົາແລ້ວຳຣະຜູ້ມີພຣະພາກຊົງນຸ່ງແລ້ວ ຊົງຖືບາດ ແລະຈີວອນ ສະເດັດໄປຍັງນິເວດຂອງອະໄພຣາຊະກຸມານ ປະທັບນັ່ງບົນອາສະນະທີ່ເຂົາປູລາດໄວ້, ລໍາດັບນັ້ນ ອະໄພຣາຊະກຸມານຊົງອັງຄາກພຣະຜູ້ມີພຣະພາຄດ້ວຍ ຂາທະນີຍະໂພຊະນິຍະອັນປານີດ ໃຫ້ອີ່ໜໍາພຽງພໍດ້ວຍພຣະຫັດຂອງພຣະອົງເອງ, ເມື່ອພຣະຜູ້ມີພຣະພາກສະເຫວີຍເສັດ ຊົງຊັກພຣະຫັດອອກຈາກບາດແລ້ວ ອະໄພຣາຊະກຸມາຣຊົງຖືອານະຕໍ່າອັນໜຶ່ງປະທັບນັ່ງ ນະທີ່ຄວນ ່ສວນຂ້າງໜຶ່ງ.

ກ. ວາຈາບໍ່ເປັນທີ່ຮັກ.
- ອະໄພຣາຊະກຸມາຮປະທັບ ນະທີ່ຄວນສ່ວນຂ້າງໜຶ່ງແລ້ວ ໄດ້ທູນຖາມພຣະຜູ້ມີພຣະພາກເຈົ້າວ່່າ ຂ້າແຕ່ພຣະອົງຜູ້ຈະເຣີນ ພຣະຕະຖາຄົດ ຈະເພິ່ງຕັດພຣະວາຈາອັນບໍ່ເປັນທີ່ຮັກ ບໍ່ເປັນທີ່ພໍໃຈຂອງຄົນອື່ນແນ່ບໍນໍ ?
- ພຣະຜູ້ມີພຣະພາຄຕັດວ່າ : ດູກຣ ຣາຊະກຸມານ ໃນບັນຫານີ້ ຈະວິສັຊນາໂດຍສ່່ວນດຽວບໍ່ໄດ້.
- ອະໄພຣາຊະກຸມານ : ຂ້າແຕ່ພຣະອົງຜູ້ຈະເຣີນ ເພາະບັນຫາຂໍ້ນີ້ ພວກນິຄຣົນໄດ້ສິບຫາຍແລ້ວ.
- ພຣະຜູ້ມີພຣະພາຄຕັດວ່າ : ດູກຣ ຣາຊະກຸມານ ເຫດສັນໃດພຣະອົງຈຶ່ງຕັດຢ່າງນັ້ນເລົ່າ ?
- ອະໄພຣາຊະກຸມານ : ຂ້າແຕ່ພຣະອົງຜູ້ຈະເຣີນ ເພາະບັນຫາຂໍ້ນີ້ ພວກນິຄຣົນຖ໌ໄດ້ຈິບຫາຍແລ້ວ, ຂ້າແຕ່ພຣະອົງຜູ້ຈະເຣີນ ຂໍປະທານພຣະ ວະໂຣກາດ, ຂ້ານ້ອຍໄປຫານິຄຣົນຖ໌ນາຕະບຸດເຖິງທີ່ຢູ່ ອະພິວາດແລ້ວ ນັ່ງນະທີ່ຄວນສ່ວນຂ້າງໜຶ່ງ, ນິຄຣົນຖ໌ນາຕະບຸດໄດ້ບອກວ່າ ໄປເຖີດ ພຣະກຸມານ ເຊີນພຣະອົງສະເດັດໄປ ຍົກວາທະແກ່ພຣະສະມະນະໂຄດົມເຖີດ, ເມື່ອພຣະອົງຍົກວາທະແກ່ພຣະສະມະນະໂຄດົມຢ່າງນີ້ ກິດຕິສັບອັນງາມ ຂອງພຣະອົງຈະລືກະສ່ອນໄປວ່າ อภัยราชกุมารยกวาทะแก่พระสมณโคดม ผู้มีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมาก อย่างนี้ เมื่อนิครนถ์นาฏบุตรกล่าวอย่างนี้ หม่อมฉันได้ถามว่า ท่านผู้เจริญ ก็ข้าพเจ้าจะยกวาทะ แก่พระสมณโคดมผู้มีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากอย่างนี้ได้อย่างไร นิครนถ์นาฏบุตรตอบว่า ไปเถิด พระราชกุมาร เชิญพระองค์เสด็จเข้าไปเฝ้าพระสมณโคดมถึงที่ประทับ แล้วจงทูลถามอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระตถาคตจะพึงตรัสพระวาจาอันไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่ชอบใจของผู้อื่น บ้างหรือหนอ ถ้าพระสมณโคดมถูกพระองค์ทูลถามอย่างนี้แล้ว จะทรงพยากรณ์อย่างนี้ว่า ดูกร ราชกุมาร ตถาคตพึงกล่าววาจาอันไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่ชอบใจของผู้อื่น ดังนี้ไซร้ พระองค์พึง ทูลพระสมณโคดมอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เมื่อเป็นอย่างนั้น การกระทำของพระองค์ จะต่างอะไรจากปุถุชนเล่า เพราะแม้ปุถุชนก็กล่าววาจาอันไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่ชอบใจของผู้อื่น แต่ถ้าพระสมณโคดมถูกพระองค์ทูลถามอย่างนี้แล้ว จะทรงพยากรณ์อย่างนี้ว่า ดูกรราชกุมาร ตถาคตไม่พึงกล่าววาจา อันไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่ชอบใจของผู้อื่น ดังนี้ไซร้ พระองค์พึงทูล พระสมณโคดมอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เมื่อเป็นอย่างนั้น อย่างไรพระองค์จึงทรงพยากรณ์ เทวทัตต์ว่า เทวทัตต์จักเกิดในอบาย จักเกิดในนรก ตั้งอยู่สิ้นกัปหนึ่ง เป็นผู้อันใครๆ เยียวยา ไม่ได้ ดังนี้ เพราะพระวาจาของพระองค์นั้น พระเทวทัตต์โกรธ เสียใจ ดูกรพระราชกุมาร พระสมณโคดมถูกพระองค์ทูลถามปัญหาสองเงื่อนนี้แล้ว จะไม่อาจกลืนเข้า ไม่อาจคายออกได้เลย เปรียบเหมือนกะจับเหล็กติดอยู่ในคอของบุรุษ บุรุษนั้นจะไม่อาจกลืนเข้า ไม่อาจคายออกได้ ฉันใด ดูกรพระราชกุมาร พระสมณโคดมก็ฉันนั้น ถูกพระองค์ทูลถามปัญหาสองเงื่อนนี้แล้ว ไม่อาจกลืนเข้า จะไม่อาจคายออกได้เลย.

วาจาที่ประกอบด้วยประโยชน์

สมัยนั้นแล เด็กอ่อนเพียงได้แต่นอน นั่งอยู่บนตักของอภัยราชกุมาร ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะอภัยราชกุมารว่า ดูกรราชกุมาร ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน ถ้ากุมารนี้อาศัยความเผลอของพระองค์ หรือของหญิงพี่เลี้ยง พึงนำไม้หรือก้อนกรวดมาใส่ในปาก พระองค์จะพึงทำเด็กนั้นอย่างไร?

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หม่อมฉันจะพึงนำออกเสีย ถ้าหม่อมฉันไม่อาจจะนำออกได้แต่ ทีแรก หม่อมฉันก็จะเอามือซ้ายประคองศีรษะแล้วงอนิ้วมือขวาควักไม้หรือก้อนกรวดแม้พร้อม ด้วยเลือดออกเสีย ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะหม่อมฉันมีความเอ็นดูในกุมาร.

ดูกรราชกุมาร ตถาคตก็ฉันนั้นเหมือนกัน ย่อมรู้วาจาที่ไม่จริง ไม่แท้ ไม่ประกอบด้วย ประโยชน์ และวาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่ชอบใจของผู้อื่น ตถาคตไม่กล่าววาจานั้น อนึ่ง ตถาคตย่อมรู้วาจาที่จริง ที่แท้ แต่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และวาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่ ชอบใจของผู้อื่น ตถาคตไม่กล่าววาจานั้น อนึ่ง ตถาคตย่อมรู้วาจาที่จริง วาจาที่แท้ และประกอบ ด้วยประโยชน์ แต่วาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่ชอบใจของผู้อื่น ในข้อนั้น ตถาคตย่อมรู้กาลที่ จะพยากรณ์วาจานั้น ตถาคตย่อมรู้วาจาที่ไม่จริง ไม่แท้ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ แต่วาจานั้น เป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของผู้อื่น ตถาคตไม่กล่าววาจานั้น ตถาคตย่อมรู้วาจาที่จริง ที่แท้ ไม่ ประกอบด้วยประโยชน์ แต่วาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของผู้อื่น ตถาคตไม่กล่าววาจานั้น อนึ่ง ตถาคตย่อมรู้วาจาที่จริง ที่แท้ และประกอบด้วยประโยชน์ และวาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่ ชอบใจของผู้อื่น ในข้อนั้น ตถาคตย่อมรู้กาลที่จะพยากรณ์วาจานั้น ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะ ตถาคตมีความเอ็นดูในสัตว์ทั้งหลาย.

พุทธปฏิภาณ

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ กษัตริย์ผู้บัณฑิตก็ดี พราหมณ์ผู้บัณฑิตก็ดี คฤหบดีผู้ บัณฑิตก็ดี สมณะผู้บัณฑิตก็ดี ผูกปัญหาแล้วเข้ามาเฝ้าทูลถามพระตถาคต การพยากรณ์ปัญหา ของบัณฑิตเหล่านั้น พระผู้มีพระภาคทรงตรึกด้วยพระหฤทัยไว้ก่อนว่า บัณฑิตทั้งหลายจักเข้ามา เฝ้าเราแล้วทูลถามอย่างนี้ เราอันบัณฑิตเหล่านั้นทูลถามอย่างนี้แล้ว จักพยากรณ์อย่างนี้ หรือว่า พยากรณ์นั้นมาปรากฏแจ่มแจ้งกะพระตถาคตโดยทันที.

ดูกรราชกุมาร ถ้าอย่างนั้น ในข้อนี้ อาตมภาพจักกลับถามพระองค์บ้าง ข้อนี้ควรแก่ พระองค์อย่างใด พระองค์พึงพยากรณ์ข้อนั้นอย่างนั้น ดูกรราชกุมาร พระองค์จะสำคัญความ ข้อนั้นเป็นไฉน พระองค์เป็นผู้ฉลาดในส่วนน้อยใหญ่ของรถหรือ?

อย่างนั้น พระเจ้าข้า หม่อมฉันเป็นผู้ฉลาดในส่วนน้อยใหญ่ของรถ.

พระผู้มีพระภาค // ดูกรราชกุมาร พระองค์จะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน ชนทั้งหลายเข้าไปเฝ้าพระองค์ แล้วพึงทูลถามอย่างนี้ว่า ส่วนน้อยใหญ่ของรถอันนี้ ชื่ออะไร การพยากรณ์ปัญหาของชนเหล่านั้น พระองค์พึงตรึกด้วยใจไว้ก่อนว่า ชนทั้งหลายเข้ามาหาเราแล้ว จักถามอย่างนี้ เราอันชนเหล่านั้น ถามอย่างนี้ จักพยากรณ์อย่างนี้ หรือว่าการพยากรณ์นั้นพึงแจ่มแจ้งกะพระองค์โดยทันที?

อภัยราชกุมาร // ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เพราะหม่อมฉันเป็นทหารรถ รู้จักดี ฉลาดในส่วนน้อยใหญ่ ของรถ ส่วนน้อยใหญ่ของรถทั้งหมด หม่อมฉันทราบดีแล้ว ฉะนั้น การพยากรณ์ปัญหานั้น แจ่มแจ้งกะหม่อมฉันโดยทันทีทีเดียว.

ฉันนั้นเหมือนกันแล ราชกุมาร กษัตริย์ผู้บัณฑิตก็ดี พราหมณ์ผู้บัณฑิตก็ดี คฤหบดีผู้ บัณฑิตก็ดี สมณะผู้บัณฑิตก็ดี ผูกปัญหาแล้วจักเข้ามาถามตถาคต การพยากรณ์ปัญหานั้น ย่อม แจ่มแจ้งกะตถาคตโดยทันที ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะความที่ธรรมธาตุนั้น ตถาคตแทงตลอด ดีแล้ว การพยากรณ์ปัญหานั้น จึงแจ่มแจ้งกะตถาคตโดยทันที.

อภัยราชกุมารแสดงตนเป็นอุบาสก

เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว อภัยราชกุมารได้กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ ผู้เจริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือตามประทีป ในที่มืด ด้วยหวังว่า ผู้มีจักษุจักเห็นรูป ดังนี้ ฉันใด พระผู้มีพระภาคทรงประกาศพระธรรม โดยอเนกปริยาย ฉันนั้นเหมือนกัน ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หม่อมฉันขอถึงพระผู้มีพระภาค พระธรรมและพระภิกษุสงฆ์ ว่าเป็นสรณะ ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงจำหม่อมฉันว่าเป็นอุบาสก ผู้ถึงสรณะตลอดชีวิต ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ดังนี้แล.

No comments:

Post a Comment